Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่6การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่6การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
โรคหัดเยอรมัน(Rubella)
อาการและอาการแสดง
เจ็บคอ,คอแดงเล็กน้อย,มีผื่นอย่างน้อย1-2 วัน
มีไข้ต่ำๆ(37.5 ºC),ปวดศีรษะ,อ่อนเพลีย,มีน้้ามูก,เจ็บคอ,คอแดง,เยื่อบุตาอักเสบ
ถ้ามีไข้สูง(39ºC),วิงเวียนเบื่ออาหารหนาวสั่นน้ำมูกไหลคอแดงเจ็บคอเยื่อบุตาแดงอักเสบปวดศีรษะหลังจากนั้น4-5วันอาจจะมีอาการทางระบบประสาทร่วมด้วยเช่นตะคริวปวดศีรษะอ่อนแรงอัมพฤกษ์
Congenital rubella
เดือนที่1:พิการ10-50%
เดือนที่2:พิการ14-25%
เดือนที่3:พิการ6-7%
หลังเดือนที่3:พิการ0-5%
ระยะติดต่อ
ประมาณ2-3วันก่อนมีผื่นขึ้นจนไปถึง7วันหลังผื่นขึ้นทารกที่ติดเชื้อในครรภ์เชื้อไวรัสอยู่ในลำคอและขับถ่ายออกมาทางปัสสาวะได้นานถึง1ปี
การวินิจฉัยโรค
แยกเชื้อไวรัสจากน้ำมูกswabจากคอเลือดปัสสาวะและน้ำไขสันหลัง
แยกผู้ป่วยครบ7วันหลังผื่นขึ้นในCongenitalrubellaอาจมีเชื้อได้นานถึง1ปี
ติดตามตรวจเชื้อไวรัสในNasophalynxและในปัสสาวะเมื่ออายุ3-6เดือน แล้วไม่พบเชื้อ
ให้วัคซีนป้องกัน
ระยะฟักตัว
ประมาณ14-21วันเฉลี่ย16-18วัน
การพยาบาล
เช็ดตัวลดไข้
ดูแลทั่วไปๆผิวหนังตาหูปากฟันและจมูก
การแยกเด็กแบบRespiratoryIsolationตั้งแต่มีอาการถึง5-7วันหลังผื่นขึ้น
ระยะไข้สูงให้อาหารอ่อนหรืออาหารเหลวดื่มน้ำมากๆ
สังเกตอาการแทรกซ้อนอื่นๆข้ออักเสบให้แอสไพรินกรณีเกล็ดเลือดต่ำและเลือดออกไม่หยุดอาจต้องใช้ยาสเตียรอยด์ให้เกล็ดเลือดให้อิมมูโนกลอบูลิน
สาเหตุ
เชื้อไวรัส(Rubi-virus)
โรคหัด(Measles/Rubeola)
การระบาดของโรค
ตลอดทั้งปีวัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ1-7ปีอายุน้อยกว่า6 ตลอดทั้งปี วัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ 1-7 ปี อายุน้อยกว่า 6 เดือนไม่พบว่าเป็นโรคหัด
อาการและอาการแสดง
1.อาการนำ:ไข้สูงอ่อนเพลียไอน้ำมูกน้ำตาไหลเยื่อบุตาอักเสบกลัวแสงหนังตาบวมทอนซิลโตและแดงในวันที่2-3ตรวจพบKoplick’sspotลักษณะเม็ดขาวเล็กๆขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบนเยื่อบุกระพุ้งแก้มที่แดงจัดหายไปหลังผื่นขึ้นประมาณ2วัน
2.ระยะออกผื่น:ประมาณ3-5วันหลังจากเป็นไข้(T=39.5-40.5ºC)ตาแดงจัดผื่นเริ่มจากหลังใบหูและโคนผมที่ต้นคอใบหน้าลำตัวแขนขาต่อมน้ำเหลืองม้ามโต
3.ระยะผื่นจางหาย:ประมาณ5-8วันของโรคไข้เริ่มลดลงและหายไปภายใน2-3วันอาจมีอาการไอเมื่อผื่นถึงเท้าจะจางหายไปเหลือเป็นรอยสีคล้ำ
ระยะติดต่อ
ประมาณ8-12วันคือ4วันก่อนผื่นขึ้นจนถึง4วันหลังผื่นขึ้นติดต่อทางอากาศและสัมผัสน้ำมูกน้ำลายหรือเสมหะของผู้ป่วย
โรคแทรกซ้อน
สมองอักเสบ,ปอดอักเสบ,หูชั้นกลางอักเสบ,เยื่อบุตาอักเสบ,ลำไส้อักเสบ,กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
ระยะฟักตัว
ประมาณ10วันหลังจากได้รับเชื้อจนกระทั่งมีไข้หรือประมาณ14วันจนกระทั่งปรากฏผื่น
การรักษา
ให้พักผ่อนยาลดไข้และให้น้ำเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ถ้าติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำต้องให้ยาจุลชีพที่เหมาะสม
เป็นโรคที่หายได้เองไม่มีโรคแทรกซ้อนไม่มีความจำเป็นให้ยาต้านจุลชีพ
สาเหตุ
เชื้อไวรัส(Parayxovirus)
การป้องกัน
การให้ภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันโรคหัดได้ทันทีโดยให้Gamma globulinฉีดเข้ากล้ามเนื้อภายใน5วันหรือน้อยกว่า6วันหลังจากได้รับเชื้อให้ในเด็กเล็กเด็กที่เจ็บป่วยเรื้อรังหญิงมีครรภ์และผู้มีอิมมูนพร่องอยู่นาน3-6สัปดาห์
วัคซีนที่ทำจากเชื้อมีชีวิตฉีดเข้าใต้ผิวหนังครั้งเดียวควรให้ในเด็กอายุไม่ต่ำกว่า1ขวบแอนตี้บอดี้จะเกิดประมาณ12วันหลังฉีดถ้าให้ก่อนสัมผัสโรคทันทีหรือให้หลังสัมผัสโรคภายใน48ชั่วโมงหรือน้อยกว่า72ชั่วโมงจะสามารถป้องกันโรคได้ในเด็ก6-12เดือนควรฉีดซ้้าเมื่ออายุเกิน12เดือนไม่จ้าเป็นต้องฉีดเสริม
โรคสุกใส(Chickenpox/Vericella)
โรคแทรกซ้อน
การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง
ปอดอักเสบข้ออักเสบกระดูกอักเสบ
สมองอักเสบ
Hemorrhagicchickenpox:เกล็ดเลือดต่ำเลือดออกทางเดินอาหารเลือดกำเดาไหล
Disseminatevaricella:สุกใสชนิดแพร่กระจายไปอวัยวะภายในมีตุ่มขึ้นใหม่เป็นระยะเวลานานมักพบในผู้ป่วยโรคมะเร็งเช่นปอดอักเสบ
Raye’ssyndromeเป็นกลุ่มอาการที่มีผลกระทบต่อทุกอวัยวะในร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งสมองและตับของผู้ป่วยที่มีการเปลี่ยนแปลงพยาธิสภาพมากที่สุดอาการสำคัญที่พบบ่อยได้แก่ผู้ป่วยอาเจียนอย่างรุนแรงและต่อมามีอาการทางสมอ
การวินิจฉัย
ขูดพื้นขอตุ่มใสมาสเมียร์บนสไลด์
ลักษณะผื่น
เริ่มจากจุดแดงราบ(macule)ขนาด2-3mm.แล้วเปลี่ยนเป็นตุ่มนูน (papule) อย่างรวดเร็วภายใน8-12ชั่วโมงและตุ่มน้้าใส(vesicle)ต่อมาเป็นตุ่มหนอง(pustule)แห้งตกสะเก็ด (crust)
สรุป:Macule - papule - vesicle - pustule - crust
การป้องกัน
ระยะแพร่เชื้อเริ่มตั้งแต่24ชม.ก่อนที่ผื่นขึ้นจนถึงตุ่มแห้งหมดแล้วควรให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยกstrictisolationควรหยุดเรียน
อาการนำ
มีไข้ต่ำๆพร้อมกับผื่นอ่อนเพลียปวดศีรษะเบื่ออาหาร1-2วันปวดท้องเล็กน้อย
การรักษา
ยาต้านไวรัสคือAcyclovir(Zovirax)ทั้งชนิดกินและทาชนิดฉีดให้200mg5dose/dayทุก4ชั่วโมงเป็นเวลา5วัน
ระยะฟักตัว
ประมาณ10-21วัน
การพยาบาล
แยกเด็กไว้จนกว่าแผลตกสะเก็ดหมดพักผ่อนใช้dermaponฟอกหรือให้คาลาไมน์โลชั่นทาหลังอาบน้ำให้ยาAntihistamine
ตัดเล็บมือให้สั้นใส่ถุงมือให้เด็กเล็ก
อาหารธรรมดา
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
วัคซีนป้องกันโรคสุกใสถ้าสัมผัสโรคไม่เกิน3วันป้องกันโรคได้มากกว่า 90%
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
ขึ้นบริเวณหนังศีรษะใบหน้าคอและเยื่อบุช่องปากก่อนแล้วจึงลามไปที่แขนขา
กระจายแบบCentripetal
ผื่นมักจะอยู่บริเวณลำตัวใบหน้ามากกว่าแขนขา
โรคคอตีบ(Diphtheria)
ระบาดวิทยา
พบในคนเท่านั้นในจมูกหรือลำคอโดยไม่มีอาการติดต่อกันทางไอจามรดกันพูดคุยระยะใกล้ชิดเชื้อเข้าทางปากหรือการหายใจรืออาจใช้ภาชนะร่วมกันเช่นแก้วน้ำช้อนมักพบโรคคอตีบในชุมชนแออัดพบในเด็กอายุ1-6ปีระยะฟักตัว2-5วันอาจอยู่ได้2สัปดาห์ถ้าไม่ได้รับการ
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆอาการคล้ายหวัดไอเสียงก้องเจ็บคอรุนแรงเบื่ออาหารต่อมน้ำเหลืองที่คอโตและบริเวณรอบๆรุนแรง
คอบวมBullneck
บางรายมีการกดทับเส้นเลือดด้าที่คอทำให้ใบหน้ามีสีดำคล้ำจากเลือดคั่งมีอาการไข้สูงซึมชีพจรเบาเร็วมือเท้าเย็นอาจเสียชีวิตจากภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลวได้
คอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทาติดอยู่บริเวณทอนซิลบริเวณลิ้นไก่แผ่นเยื่อนี้เกิดจากพิษที่ออกมามีน้ำมูกปนเลือดมีกลิ่นเหม็นถ้าลงหลอดคอทำให้ทางเดินหายใจตีบ
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย
โรคแทรกซ้อน
การอุดตันของทางเดินหายใจส่วนบนพบในเด็กเล็กวันที่2-3ของโรคกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอเต้นเร็วหรือช้าหัวใจเต้นไม่สม่ำเสมอหัวใจล้มเหลวและเสียชีวิต
การวินิจฉัย
ตรวจแผ่นเยื่อในล้าคอโดยใช้ Throat swab
การรักษา
รีบน้าส่งโรงพยาบาลรักษาโดยเร็ว
1.การให้Diptheria Antitoxin(DAT)ต้องรีบให้เร็วที่สุดเพื่อไปทำลายพิษ(Exotoxin)ก่อนที่จะเกิดอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจและปลายประสาท
2.ให้ยาปฏิชีวนะเพนนิซิลินเป็นเวลา14วันหรือ Erythromycin แทน
3.ถ้าทางเดินหายใจตีบต้องเจาะคอเพื่อช่วยให้หายใจได้
4.ต้องมีการพักผ่อนอย่างเต็มที่อย่างน้อย2-3สัปดาห์ให้สารน้ำทางหลอดเลือดตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจเป็นระยะเพื่อป้องกันโรคแทรกซ้อนทางหัวใจซึ่งมักจะเกิดขึ้นปลายสัปดาห์ที่2
โรคติดเชื้อเฉียบพลันของระบบทางเดินหายใจเกิดการอักเสบมีแผ่นเยื่อในลำคอมีการตีบตันของทางเดินหายใจอาจทำให้ถึงตายและจากพิษ(Exotoxin)ของเชื้อทำให้มีอันตรายต่อกล้ามเนื้อหัวใจและเส้นประสาทส่วนปลาย
การป้องกัน
ต้องมีการแยกผู้ป่วยจากผู้อื่นอย่างน้อย3สัปดาห์หลังเริ่มมีอาการหรือตรวจเพาะเชื้อไม่พบเชื้อแล้ว2ครั้งและต้องให้วัคซีนป้องกันโรคคอตีบแก่ผู้ป่วยที่หายแล้วทุกคน
ผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยเนื่องจากโรคคอตีบติดต่อกันได้ง่ายจึงควรติดตามดูอาการอย่างใกล้ชิดโดยการเพาะเชื้อจากลำคอและติดตามอาการ7วันผู้ที่ไม่เคยได้รับวัคซีนป้องกันโรคมาก่อนหรือได้รับมาไม่ครบควรให้ยาปฏิชีวนะเป็นเวลา7วันพร้อมเริ่มให้วัคซีนพร้อมให้Diptheria Antitoxin (DAT)เช่นเดียวกับผู้ป่วย
ในเด็กทั่วไปโดยให้วัคซีนป้องกันคอตีบ4ครั้งเมื่ออายุ2,4,6,18เดือนและกระตุ้นอีกครั้งหนึ่งเมื่ออายุ4-6ปี(ต่อไปอาจกระตุ้นทุก10ปี)
โรคคางทูม(Mumps)
ระยะฟักตัว
12-25วัน
อาการ
ไข้ครั่นเนื้อครั่นตัวอ่อนเพลียขากรรไกรบวมแดงปวดร้าวไปที่หูขณะกลืนเคี้ยวและอ้าปากอาการบวมจะค่อยๆยุบหายไปใน7-10วัน
การติดต่อ
ไอจามหายใจรดกัน1-2วันก่อนเริ่มมีอาการจนถึง9วันหลังจากต่อมน้ำลาย paratidเริ่มบวม
โรคแทรกซ้อน
1.เยื่อหุ้มสมองอักเสบ*พบน้อย
2.หูชั้นในอักเสบไตอักเสบ
3.ส่วนน้อยพบOrchitis(ลูกอัณฑะอักเสบ:ไข้สูงอัณฑะบวมปวดอาจเป็นหมันได้)
สาเหตุ
เชื้อไวรัสParamyxovirus(อยู่ในน้ำลายหรือเสมหะ)
การวินิจฉัย
แยกเชื้อไวรัสจากThroatwashingจากปัสสาวะและน้ำไขสันหลัง
พบมากในเด็กอายุ 6-10ปี(<3ปีมักไม่พบ)
การรักษา
1.รักษาตามอาการให้นอนพักดื่มน้ำมากๆเช็ดตัวลดไข้ให้ยาลดไข้
2.ลูกอัณฑะอักเสบให้prednisolone1mg/kg/day
เป็นการอักเสบของต่อมน้ำลาย(Parotidgland)
การแยกผู้ป่วย
แยกผู้ป่วย9วันหลังเริ่มมีอาการบวมของต่อมน้ำลาย
การป้องกัน
ให้วัคซีนป้องกันคางทูม
วัณโรค(Tuberculosis)
เป็นโรคติดต่อเรื้อรังทำให้มีการอักเสบในปอด
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียMycobacteriumtuberculosis
การติดต่อ
ไอหายใจรดกัน
ระยะฟักตัว
2-10สัปดาห์
อาการ:ระยะแรกไม่แสดงอาการ
TT(PPD test):positive(2-10สัปดาห์)
1-6เดือนต่อมาต่อมน้ำเหลืองโตปอดอวัยวะอื่นๆ
มาด้วยการเจ็บป่วยตามอวัยวะที่เป็นโรคไข้อ่อนเพลียน้ำหนักลดเบื่ออาหารเหงื่อออกกลางคืนปอดอักเสบเป็นต้น
การวินิจฉัย
ประวัติสัมผัสโรค
ภาพถ่ายรังสีปอด
การทดสอบทูเบอร์คูลินได้ผลบวก
การย้อมสีทนกรด
การวิจฉัยชิ้นเนื้อจากต่อมน้ำเหลืองเยื่อหุ้มปอด
การตรวจCTscan,MRI
การทำTT(PPDtest)ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อวัณโรคแต่ไม่มีอาการ
การรักษา
เด็กอายุน้อยกว่า4ปีTTผลบวกให้INHนาน2-4 ดือน
เด็กอายุน้อยกว่า4 ปีวัณโรค
แยกผู้ป่วย1-2เดือนจนเสมหะไม่พบเชื้อ
อาหารโปรตีนสูงวิตามินสูง
พักผ่อนให้เพียงพอ
วัคซีน BCG
Combinedrugอย่างน้อย3อย่าง(pyrazinamide,streptomycin,rifampin,isoniacid,ethabutal)กินยาต่อเนื่องอย่างน้อย6 ดือน
โรคไข้เลือดออกเดงกี่Denguehemorrhagicfever
การดาเนินโรคแบ่งเป็น3ระยะ
2.ระยะวิกฤตหรือช็อก
เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมาซึ่งพบทุกรายโดยระยะรั่ว24-48ชั่วโมง
รุนแรง มีการไหลเวียนล้มเหลว จากพลาสมารั่วไปช่องเยื่อหุ้มปอด/ช่องท้องมาก เกิดภาวะช็อก (Hypovolemic shock)
อาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น pulse pressure แคบ<20 mmHg (ปกติ 30-40 mmHg)
ส่วนใหญ่รู้สติดี พูดรู้เรื่อง กระหายน้ำ อาจปวดท้องกะทันหันก่อนเข้าสู่ภาวะช็อก
ความรุนแรงของไข้เลือดออกเดงกี
Grade I:ตรวจทูนิเกท์เทสต์ให้ผลบวก(Positive tourniquet test)
Grade II:มีเลือดออก เช่น จุดจ้ำเลือดออกตามตัว,มีเลือดกำเดา, อาเจียน ถ่ายอุจจาระสีด้า, Hct เพิ่มมากกว่าร้อยละ 20, BP ยังปกติ
Grade III: ผู้ป่วยช็อก,มีชีพจรเบาเร็ว,pulse pressure แคบ, BP ต่ำ, ตัวเย็น, เหงื่อออก, กระสับกระส่าย
Grade IV: ช็อกรุนแรง, วัด BP หรือ Pulse ไม่ได้
ระหว่างเกิดภาวะ shock พบการเปลี่ยนแปลงสำคัญ 2 ประการ
มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งนำไปสู่ภาวะช็อก (Hypovolemic shock)
-Hct เพิ่มทันทีก่อนช็อก และยังคงสูงในช่วงมีการรั่ว/ช็อก
-มีน้ำในช่องปอดและช่องท้อง
-ระดับโปรตีนและอัลบูมินในเลือดต่ำลงในช่วงที่มีการรั่วของพลาสมา
-Central venous pressure (CVP) ต่ำ
-มีการตอบสนองต่อการรักษาด้วยการให้สารนำทางหลอดเลือดดำ
ระดับ peripheral resistance เห็นได้จาก pulse pressure แคบ
3.ระยะฟื้นตัว
ผู้ป่วยที่ไม่ช็อก เมื่อไข้ลงก็จะดีขึ้น
ผู้ป่วยช็อกรักษาถูกต้องเมื่อการรั่วของพลาสมามาหยุด Hct.ลงมาคงที่ ชีพจรช้าลงและแรงขึ้น BPปกติ pulse pressure กว้าง จำนวนปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
อาการดีชัดเจน อาจพบหัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
อาจมีผื่นลักษณะวงกลมเล็กๆสีขาวของผิวหนังปกติท่ามกลางผื่นสีแดง
1.ระยะไข้สูง
ส่วนใหญ่ไข้สูงลอย T>38.5 ºC (2-7 วัน)
มักมีหน้าแดง ส่วนใหญ่ไม่มีน้้ามูกไหลหรือไอ
อาจปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา
อาจมีเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้องด้วย
ระยะตับโต หรือใกล้ไข้ลงจะปวดชายโครงขวา
การวินิจฉัย
การเจาะเลือด: Hct / WBC สูง
การตรวจ occult blood
ตรวจทูนิเกท์เทสต์ให้ผลบวก (Positive tourniquet test)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตับอักเสบ เอนไซม์ตับเพิ่มมากขึ้น
การเจาะหาภูมิคุ้มกันต่อเชื้อไวรัสไข้เลือดออก พบภายใน 5 วันแรกของโรคเท่านั้น
การรักษา
ระยะพักฟื้น เป็นช่วงสารน้ำกลับเข้าสู่หลอดเลือด จำเป็นต้องหยุดหรือลดให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ระยะช็อก มุ่งแก้อาการช็อกและอาการเลือดออก ให้สารน้ำ ไม่ควรให้นานเกิน 24-48 ชั่วโมง จนสัญญาณชีพดีขึ้น
ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้ ห้ามให้แอสไพริน มีฤทธิ์ต้านการรวมตัวของเกร็ดเลือด ถ้าอาเจียนอาจให้ยาระงับการอาเจียนและให้ผงเกลือแร่ ORS น้อยๆบ่อยๆ
อาการ
มีเกร็ดเลือดน้อยกว่า 100,000
มีอาการเลือดออก อย่างน้อย Positive tourniquet test ร่วมกับอาการเลือดออกอื่นๆ
1.มีอาการไข้อย่างเฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน และร่วมกับมีอาการอย่างน้อย 2 ข้อ คือ ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ/ปวดกระดูก ผื่น เลือดออก(จุดจ้ำเลือด เลือดกเดา)
Hct.เพิ่มขึ้นเท่ากับหรือมากกว่า 20% เทียบกับ Hct.เดิม หรือมีหลักฐานการรั่วของพลาสมา เช่น มีระดับโปรตีน/อัลบูมินในเลือดต่ำ
การพยาบาล
การเช็ดตัวลดไข้
การให้ผงเกลือแร่ ORS น้อยๆบ่อยๆ
การทำความสะอาดร่างกาย
การบันทึกสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
การเจาะ Hct ทุก 4-8 ชั่วโมง
การดูผลเกร็ดเลือด ถ้า Hct สูง เกร็ดเลือดต่่า เป็นสัญญาณอันตราย
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ สังเกตภาวะหอบ หายใจลำบาก การสังเกตปัสสาวะ
เอดส์ในเด็กHIV/AIDS
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส HIV
ระยะฟักตัว
ประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
โรคเอดส์ คือ โรคที่เกิดภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่องหรือเสื่อมไป เพราะถูกท้าลายโดยเชื้อไวรัสที่เรียกว่า HIV
การติดต่อ
จากแม่สู่ลูก
การได้รับเชื้อ ได้รับเลือด
การมีเพศสัมพันธ์
อาการ
Major sign
น้้าหนักลด
ท้องร่วงเรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีไข้เรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
Minor sign
ต่อมน้้าเหลืองทั่วไปโต
ปากเป็นแผล
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
ไอเรื้อรัง
ผิวหนังอักเสบทั่วไป
แม่เป็นเอดส์
อาการ: WHO,2005
Stage II: ม้ามโต ผื่นคัน เนื้องอกตามผิวหนัง ติดเชื้อราที่เล็บ เหงือกบวม ปากเป็นแผล ต่อมน้้าลายพาโรติดโต มีอาการของงูสวัด ติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบนบ่อยๆ
Stage III: อุจจาระร่วงเรื้อรังนานกว่า 14 วัน ขาดอาหาร มีไข้เรื้อรัง> 1 เดือน มีฝ้าขาวในปาก ลิ้นและเหงือก ปอดอักเสบ วัณโรคปอด
Stage IV: ขาดอาหารรุนแรง ติดเชื้อรุนแรงและกลับซ้ำ มะเร็งผิวหนัง ติดเชื้อราในทางเดินอาหาร เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ติดเชื้ออื่นๆ
Stage I: ไม่มีอาการ ต่อมน้ำเหลืองทั่วไปโต
การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
HIV antibody test ตรวจพบเชื้อ HIV หลังติดเชื้อ 2 สัปดาห์ – 6 เดือน
Viral Culture
การป้องกัน รักษา
ให้ยาต้านไวรัส คือ AZT โดยให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานทุก 12 ชม. เมื่ออายุครรภ์ครบ 32-34 สัปดาห์ และเพิ่มเป็นทุก 3 ชม. เมื่อเจ็บครรภ์จนกระทั่งคลอด
เลือกทำการผ่าตัดอกทางหน้าท้องก่อนเจ็บครรภ์คลอดและน้ำเดิน
งดให้นมแม่ ให้นมผสมแทน
การดูแลเด็กติดเชื้อเอชไอวี โรคมือเท้าปาก
การส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 2 แบบ คือ
ให้ BCG และ IPV แทน OPV
ไม่ให้ทั้งสองชนิด (ACIP)
โรคมือเท้าปาก (Hand Foot Mouth Disease)
รอยโรคที่ปาก
ในผู้ป่วยทั้งหมด มีรอยโรคจ้านวน 5-10 แห่ง พบได้ทุกบริเวณในปาก พบบ่อย คือ เพดานปาก ลิ้น และเยื่อบุกระพุ้งแก้ม
รอยโรคระยะเริ่มต้น ลักษณะเป็นรอยแดง อาจนูนเล็กน้อย ขนาด 2-8 mm. เปลี่ยนเป็นตุ่มน้้าสีเทาขนาดเล็กขอบแดง
ช่วงที่รอยโรคเป็นตุ่มน้ำจะสั้น จึงมักตรวจไม่พบในระยะนี้
มักพบลักษณะเป็นแผลตื้นๆ สีเหลืองถึงเทาขอบแดง ซึ่งอาจจะมารวมกัน
เป็นรอยโรคใหญ่ได้
รอยโรคที่ผิวหนัง
อาจเกิดขึ้นพร้อมหรือหลังรอยโรคที่ปาก จ้านวนตั้งแต่ 2-3 แห่งไปจนถึง 100 แห่ง
พบที่มือบ่อยกว่าเท้า ลักษณะเป็นรอยแดงๆ อาจนูนเล็กน้อยขนาด 2-10 mm. ตรงกลางสีเทา
บางรอยโรคมีลักษณะเป็นตุ่มน้ำใสขอบแดง มีกระจายขนานไปกับแนวของผิวหนัง อาจเจ็บหรือไม่ก็ได้
หลังจากนั้น 2-3 วัน จะค่อยๆเริ่มตกสะเก็ด และค่อยๆหายไปภายใน 7-10 วัน โดยทิ้งรอยแผลเป็นให้เห็น
บริเวณอื่นๆ อาจพบรอยโรคได้เช่นกัน คือ ก้น แขน ขา และอวัยวะสืบพันธุ์ ในเด็กทารกอาจพบกระจายทั่วตัว
อาการและอาการแสดง
เริ่มจากการมีไข้ต่่ำๆ เจ็บคอ มีผื่น
ผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ ต่อมาเป็นตุ่มขนาด 3-7 mm. ไม่เจ็บแห้งใน 1 สัปดาห์
มีแผลหรือผื่นในช่องปาก: ลิ้น เยื่อบุช่องปาก เหงือก เพดาน ริมฝีปาก เป็นตุ่มใสขนาด 1-3 mm. แล้วแตกเป็นแผล
อาการเจ็บปาก ตรวจร่างกายจะพบมีรอยโรคในบริเวณปาก มือ และเท้าตามมา
การวินิจฉัย
ดูจากอาการและอาการแสดง ตรวจร่างกายพบรอยโรคบริเวณมือ เท้า ปาก ร่วมกับไข้
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจ throat swab
การเก็บอุจจาระส่งตรวจ
-ตรวจน้ำไขสันหลัง
ระยะฟักตัว
2-6 วัน
การติดต่อ
การสัมผัสโดยตรงตรงกับสารคัดหลั่งจากจมูก, ลำคอ และน้ำจากในตุ่มใส
อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่ ช่วงที่แพร่กระจายมากที่สุด คือ สัปดาห์แรกที่ผู้ป่วยมีอาการ จนกว่ารอยโรคจะหายไป ยังพบเชื้อในอุจจาระผู้ป่วยต่อได้อีกประมาณ 2-3 สัปดาห์
เชื้อแอนเทอโรไวรัสสามารถทนสภาวะกรดในทางเดินอาหารมนุษย์ได้และมีชีวิตอยู่ในอุณหภูมิได้ 2-3 วัน
ไม่สามารถติดต่อจากคนสู่สัตว์ หรือจากสัตว์สู่คน
การติดต่อ
ทาง fecal-oral
ทางการหายใจ
การรักษา
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคที่สามารถหายเองได้เอง โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน ลดอาการเจ็บปวด จากแผลในปาก โดยป้ายยาชาบริเวณที่เป็นแผลก่อนรับประทานอาหาร
ในกรณีที่มีภาวะแทรกซ้อนให้รักษาตามอาการ
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส Enterovirus
การป้องกัน
แยกเด็กไม่ให้ร่วมกิจกรรมกับเด็กอื่น เช่น ว่ายน้ำ ไปโรงเรียน ใช้สนามเด็กเล่น เป็นเวลา 1 สัปดาห์
ผู้ดูแลล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะหลังเปลี่ยนผ้าอ้อม หรือ สัมผัสกับน้ำลาย/น้ำมูกเด็ก
ทำความสะอาดพื้นห้องน้ำ สุขา เครื่องใช้ ของเล่น สนามเด็กเล่น ตลอดจนเสื้อผ้าที่อาจปนเปื้อนเชื้อด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อที่ใช้ทั่วไปในบ้าน
เชื้ออยู่ในอุจจาระได้นาน 6-12 สัปดาห์