Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การนิเทศการพยาบาลและการวางแผนยุทธศาสตร์ - Coggle Diagram
บทที่ 5 การนิเทศการพยาบาลและการวางแผนยุทธศาสตร์
การนิเทศ (Supervision)
การนิเทศทางการพยาบาล (Nursing Supervision) คือ กระบวนการที่เป็นการสนับสนุนวิชาชีพและส่งเสริมผู้ปฏิบัติงานได้มีความรู้ สมรรถนะ ความรับผิดชอบ
การนิเทศทางคลินิก (Clinical Supervision) คือ กระบวนการระหว่างบุคคลที่ผู้นิเทศมีความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงาน ให้ความช่วยเหลือผู้ที่มีประสบการณ์น้อยเพื่อให้สามารถปฏิบัติตามบทบาทวิชาชีพไ
ด้
ความสำคัญของการนิเทศทางการพยาบาล
องค์กรใหญ่
ทำงานตลอด 24 ชั่วโมง
เช้า บ่าย ดึก
บุคลากรมากที่สุด
ระดับการนิเทศ
ระดับงานการพยาบาล
ระดับหอผุู้ป่วย
ระดับฝ่ายการพยาบาล
วัตถุประสงค์ของการนิเทศทางการพยาบาล
การติดต่อประสานงานเป้นไปโดยสะดวก
สนับสนุนบุคลากรใช้ศักยภาพสูงสุดในการปฏิบัติงาน
ผลลัพธ์การบริการมีคุณภาพ
เสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้นิเทศและผู้รับบริการนิเทศ
.พัฒนาประสิทธิภาพการพยาบาล
รวบรวมข้อมูลจากการนิเทศมาปรับปรุง
องค์ประกอบในการนิเทศ
ด้านบุคคล
ผู้นิเทศ
ผู้รับการนิเทศ
หัวหน้า
ด้านกิจกรรมและอุปกรณ์
การประชุมปรึกษา
การสอน
การตรวจเยี่ยม
การแก้ปัญหา
การสังเกต
การร่วมมือ
แนวคิดเกี่ยวกับการนิเทศ
การนิเทศแบบดั้งเดิม
การวางแผน การตัดสินใจ และการสั่งการแก่ผู้ปฏิบัติงานหรือลุกจ้างในรายละเอียด และมีการตรวจสอบ
การนิเทศแบบสมัยใหม่
เป็นการวางแผน จัดลำดับงาน การสั่งการและการชี้แนะแก่ผู้ปฏิบัติงานและมีการตรวจสอบผลงาน
การนิเทศเปรียบเสมือนการเป็นโค้ช
การนิเทศเปรียบเสมือนการควบคุม
บทบาทของผู้นิเทศ
บทบาทด้านการช่วยเหลือสนับสนุน
บทบาทหน้าที่การจัดการ
บทบาทด้านการศึกษา
ประเภทของการนิเทศ
การนิเทศรายบุคคล
การนิเทศเป็นทีม
การนิเทศตนเอง
การนิเทศเป็นกลุ่ม
เทคนิคในการนิเทศ
ไม่ตำหนิโดยตรงแต่ควนเสนอแนะ
หลีกเลี่ยงการสอบแบบครู -นักเรียน
รับฟังปัญหาของผู้ปฏิบัติ
เลือกใช้เทคนิคต่างๆกัน
สร้างบรรยากาศให้เป็นกันเอง
เครื่องมือที่ใช้ในการนิเทศ
ใช้เวชระเบียน
Patient Care review
ใช้แนวคิด
ขั้นตอนการนิเทศ
การวางแผน และกำหนดเป้าหมาย
การปฏิบัติตามแผน
การระบุปัญหา
การประเมินผล
การรวบรวมข้อมูล
ประโยชน์ของการนิเทศ
เป็นแนวทางในการกำหนดมาตรฐาน
ช่วยสร้างขวัญและกำลังใจ
ได้ทราบความก้าวหน้าของงาน กระตุ้นให้เกิดความก้าวหน้า
ลดอุปสรรค และความผิดพลาด
ช่วยให้การปฏิบัติเป็นไปตามวัตถุประสงค์
การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Planning)
กระบวนการตัดสินใจเพื่อกำหนดทิศทางในอนาคตขององค์กร โดยกำหนดสภาพการณ์ในอนาคตที่ต้องการบรรลุอย่างเป็นระบบ
คำถามหลักของการวางแผนยุทธศาสตร์ มี 3 ประการดังนี้
สภาพแวดล้อมเป็นอย่างไร
องค์กรจะไปถึงจุดหมายได้อย่างไร
องค์กรกำลังจะก้่าวไปไหน
ขั้นตอนการวางแผนยุทธศาสตร์
การกำหนดพันธกิจหรือภารกิจหลัก (Mission)
การกำหนดจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา (Goal)
การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน
เ
ป็นการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน
ส่วนการวิเคราะหืโอกาส เป้นการวิเคราะห์ปัจจัยภายนอก
ตัวชี้วัดความสำเร็จของการปฏิบัติงาน (Key Performance Indicators)
ตัวชี้วัดกระบวนการ
ตัวชี้วัดผลผลิต
ตัวชี้วัดปัจจัยนำเข้า
ตัวชี้วัดผลลัพธ์
การกำหนดวิสัยทัศน์ (Vision)
จุดอ่อน (Weakness) ข้อเสียเปรียบ ข้อผิดพลาดในองค์การที่เป็นข้อด้อยหรือเป็นข้อจำกัดต่างๆที่ส่งผลทำให้ไม่บรรลุวัตถุประสงค์
โอกาส (Opportunity ) คือ สถานการณ์หรือปัจจัยที่เกิดจากสภาพแวดล้อมที่มีลักษระเกื้อกูลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์และภารกิจขององค์การ
จุดแข็ง (Strength - S) คือ ทรัพยากรด้านต่างๆที่ได้เปรียบหรือส่วนที่เข้มแข็งภายในองค์กรที่สามารถใช้ประโยชน์เพื่อผลักดันองค์กรให้ดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์
อุปสรรค (Threat) คือ สถานการณ์หรือปัจจะยที่เกิดจากสภาพแวดล้อมภายนอกที่มีลักาณะเป็นอุปสรรคขัดขวาง หรือทำให้เกิดผลเสียหาย ผลกระทบในทางลบต่อการบริหารงานขององค์การ เช่น สภาพแวดล้อมภายนอกทั่วไป