Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลในระยะที่ 1 ของการคลอด
หลักการประเมินผู้คลอดแรกรับใหม่
การซักประวัติ
ประวัติการแพ้ยาและสารอาหารต่างๆ การผ่าตัด
กลุ่มที่จะได้รับการคลอดทางช่องคลอด แต่แพ้ยากลุ่ม Penicillin
ประวัติการเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
โรคติดเชื้อต่างๆ เช่น กามโรค วัณโรค
โรคหรือความผิดปกติที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม เช่น ครรภ์แฝด โรคเลือด โรคเบาหวาน โรคจิตประสาท ความพิการแต่กำเนิด
ประวัติความเจ็บป่วยทางอายุรกรรม และศัลยกรรม ทั้งปัจจุบันและอดีต
ประวัติการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ โรคเรื้อรังต่างๆ เช่น โรคปอด โรคไต โรคหัวใจ โรคตับ เบาหวาน กามโรค โรคเลือด การได้รับอุบัติเหตุ
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชื่อ-สกุล / อายุ / อาชีก / ระดับการศึกาา / สถานภาพสมรส / ศาสนา / ฐานะเศรษฐกิจ
ถิ่นที่อยู่อาศัย
ประวัติทางสูติกรรม
ประวัติการคลอด
ประวัติของทารก
ประวัติภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
ปรัวัติการแท้งการขูดมดลูก
ประวัติการผิดปกติหรือภาวะแทรกซ้อนต่างๆในระยะคลอดและหลังคลอด
ประวัติด้านจิตสังคม
ความรู้และเจตคติต่อการคลอด
ความกลัวและความวิตกกังวลเกี่ยวกับการคลอดและทารกในครรภ์
การวางแผนการตั้งครรภ์และการคลอด
ประสบการณ์การตั้งครรภ์และการคลอด
ประวัติจากอาการนำที่ผู้คลอดมาโรงพยาบาล
มูก (Show)
มีน้ำเดินหรือถุงน้ำแตก (Rupture of membranes)
การเจ็บครรภ์ (Labor pain)
การได้รับการสอนเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่อการคลอด จำนวนครั้งที่มาฝากครรภ์ และแพทย์ผู้ดูแล
เพื่อประเมินการตั้งครรภ์และการคลอดในครั้งนี้ ด้านการเตรียมตัว ความรู้ต่างๆ
การประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
การสั้นบางและเปิดขยายของปากมดลูก
เมื่อการคลอดก้าวหน้าขึ้นมดลูกมีการหดรัดตัวดีจะทำให้ปากมดลูกบางและเปิดขยายมากขึ้นตามลำดับจนปากมดลูกเปิดหมดคือ 10 cm และบางหมด 100%
การหมุนภายในของศีรษะ
ประเมินได้จากการตรวจแนวของรอยต่อแสกกลางและตำแหน่งคำออมหลังของทารกการดำเนินการคลอดที่เป็นปกติกระดูกท้ายทอยจะค่อยๆหมุนขึ้นมาทางด้านหน้าของเชิงกรานและรอยต่อแสกกลางจะค่อยๆหมุนมาอยู่ในแนวหน้า-หลัง เช่น จากท่า LOA มาอยู่ในท่า OA
ส่วนนำมีการเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆ
ครรภ์แรก decen>1 cm/hr
ครรภ์หลัง decent>2 cm/hr
การหดรัดตัวของปากมดลูก
ถ้ามดลูกหดรัดตัวแรงมากผิดปกติคือกล้ามเนื้อมดลูกจะแข็งมากมีระยะพักสั้นผู้คลอดจะเจ็บปวดมากจนไม่สามารถสัมผัสหน้าท้องได้นอกจากนี้ควรประเมินความผิดปกติอื่นๆร่วมด้วยได้แก่การสังเกตหน้าท้องว่ามี Bandl’s ring หรือมี Bladder full หรือไม่
การตรวจร่างกาย
การตรวจร่งกายทั่วไป
น้ำหนัก
เพื่อประเมินภาวะบวมจากความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์หรือภาวะอ้วน ถ้าอ้วนมากอาจทำให้คลอดยากทั้งยังมีผลต่อถ้าคลอดด้วย
พฤติกรรมการแสดงออกถึงความเจ็บปวด
เป็นพฤติกรรมทางกายที่แสดงออกถึงความเจ็บปวดในระยะคลอด ได้แก่ การหายใจเร็วการเกร็งกล้ามเนื้อเหงื่อออกมากกระสับกระส่ายบิดตัวไปมาร้องครวญคราง ทุบตีตนเอง เป็นต้น
สัญญาณชีพ
อุณหภูมิ ถ้าสูงอาจมีการติดเชื้อในร่างกายหรือขาดน้ำหักสูงเกิน 37.5 องศาเซลเซียส ควรรายงานแพทย์ทราบ
อัตราชีพจร ถ้ามากกว่า 90 ครั้งต่อนาที เบา เร็ว แสดงว่ามารดาอาจมีการติดเชื้อขาดน้ำ อ่อนเพลีย เหนื่อยล้าหรือตกเลือดควรตรวจสอบให้แน่ชัดอาจแสดงถึงภาวะช็อก
ความดันโลหิต 110-120/70-80 mmHg. ถ้าสูงมากกว่าหรือเท่ากับควรรายงานแพทย์ทราบไม่ควรตรวจทันทีที่มา ควรพักสักครู่ขณะก่อนตรวจ
การหายใจ มีอาการหอบหรือไม่ ซึ่งปกติควรอยู่ระหว่าง 16-20 ครั้งต่อนาที
อาการบวม
ประเมินดูว่ามีการบวมตามส่วนใดของร่างกายหรือไม่โดยเฉพาะที่ขา แขนหรือใบหน้าถ้ามีอาการบวมอาจเป็นอาการแสดงของโรคไตหัวใจ หรือภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
ผลการตรวจพิเศษอื่นๆในขณะตั้งครรภ์
ผลการตรวจเลือด Hematocrit Hemoglobin VDRI HBs AG และ Anti-HIV
ผลการตรวจคลื่นเสียงความถี่สูง Ultras onography ซึ่งสามารถนำมาประกอบในการประมาณอายุครรภ์และทราบความผิดปกติของทารกในครรภ์และผลการตรวจ NST Non stress test EFM เพื่อทราบภาวะสุขภาพของทารกในครรภ์
ผลการตรวจปัสสาวะ
น้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะ
การตรวจร่างกายเฉพาะที่
การดู
ลักษณะมดลูกโตตามยาวหรือตามขวางเพื่อดูว่าทารกอยู่ในท่าหัว ท่าก้น หรือถ้าขวาง
การเคลื่อนไหวของทารก
ขนาดของท้อง ถ้าหน้าท้องมีขนาดใหญ่อาจมีการตั้งครรภ์แฝดหรือมีภาวะน้ำคร่ำมาก
ลักษณะทั่วไปของท้องเช่นมีหน้าท้องย้อยหรือกล้ามเนื้อหน้าท้องแยกห่างกันซึ่งอาจจะส่งผลต่อระยะที่ 2 ของการคลอดเนื่องจากกล้ามเนื้อหน้าท้องที่หย่อนจะทำให้แรงเบ่งไม่ดี
การคลำ
ส่วนนำทารก ระดับของสวนน้ำ ถ้าและทรงของทารก การเข้าสู่เชิงกรานของส่วนนำทารก
การคาดคะเนน้ำหนักของทารก EFW = HF * AC รพ.พะเยา นิยมใช้
เพื่อประเมินความสัมพันธ์ของระดับยอดมดลูกกับอายุครรภ์
ความสูงของยอดมดลูกเมื่อทานครบกำหนดคลอดควรอยู่ระหว่าง 33-37 cms เพราะถ้า<32 cms ทารกมักจะตัวเล็กแต่ถ้า >38 cms ทารกจะหัวโต ทำให้มดลูกหดรัดตัวได้ไม่ดีในระยะคลอด คลอดยาก และตกเลือดหลังคลอดจากการที่มดลูกหดรัดตัวได้ไม่ดี
การฟัง
การฟังเสียงหัวใจทารกส่วนใหญ่จะได้ยินชัดเจนทางด้านหลังทารกคือบริเวณสะบักซ้าย ตำแหน่งของเสียงหัวใจที่ฟังชัดขึ้นอยู่กับอายุครรภ์และท่าของทารก จังหวะสม่ำเสมอ
ระยะที่ 2 ของการคลอดควรฟังเสียงหัวใจทารกทุก5-10นาทีกรณีที่ถุงน้ำทูนหัวแตกควรฟังทันทีเพราะอาจมีสายสะดือพลัดต่ำอัตราการเต้นของหัวใจทารกประมาณ 120-160 ครั้ง/นาที
ทารกที่ครบกำหนด มีศีรษะเป็นส่วนนำเสียงหัวใจจะได้ยินที่ต่ำกว่าระดับสะดือ
ถ้าทารกมีท่าก้นเป็นส่วนนำเสียงการเต้นของหัวใจจะได้ยินเหนือระดับสะดือยกเว้นรายที่มีการเคลื่อนต่ำของก้นอาจได้ยินต่ำกว่าสะดือได้
อัตราการเต้นของหัวใจปกติอยู่ระหว่าง 110- 160 ครั้ง/นาที มีจังหวะการเต้นสม่ำเสมอ ถ้าอัตราการเต้นของหัวใจทารกน้อยกว่า 110 ครั้งต่อนาทีหรือมากกว่า 160 ครั้งต่อนาทีแสดงว่าทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ตำแหน่งของเสียงหัวใจทารกที่ฟัง ท่าการคลอดก้าวหน้าตำแหน่งเสียงหัวใจทารกจะมีการเคลื่อนต่ำลงมาเรื่อยๆถ้าฟังได้บริเวณเหนือหัวเหน่าแสดงว่าทารกอยู่ในระยะใกล้คลอดแล้ว
การตรวจภายใน
ครวจหาส่วนนำ
ตรวจหาท่าของทารก position และขม่อม fontanel
เป็นการคลำจากการตรวจดู Sagittal sutue ขม่อมหลัง posterior fontanel หรือขม่อมหน้า Anterior fontanel ตำแหน่งของมันอยู่หน้าหรือหลังซึ่งจะช่วยบอกท่าของทารก
ตรวจหาท่าของทารก (Position)
รอยต่อแสกกลาง Sagittal sutue ว่าอยู่หน้า หลัง เฉียง หรือขวางกับแนวดิ่ง หรือช่องคลอดการตรวจพบรอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวขวาง Transverse ถ้าขหม่อมหลังอยู่ทางด้านซ้ายของผู้คลอดแสดงว่ากระดูกท้ายทอยอยู่ทางซ้ายท่าของทารกคือ left occiput transverse ROT ถ้าทั้งสองนี้มักจะตรวจพบเมื่อส่วนนำเคลื่อนเข้าสู่ Pelvic inlet หรือเมื่อมี engagement
การตรวจดูสภาพของน้ำทูลหัว (Bag of fore water)
การตรวจจะทำได้ง่ายเมื่อมีการหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกเพิ่มขึ้นเป็นเหตุให้ถุงน้ำทูนหัวโป่งยื่นออกมาจนคลำได้ชัดเจน การตรวจต้องระมัดระวังอย่าทำรุนแรงเพราะจะทำให้ถุงน้ำแตกก่อนกำหนดซึ่งจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้
Membrane intact (MI) ตรวจพบถุงน้ำโป่งแข็งตึง คลำส่วนนำได้ยาก
Membrane rupture (MR) พบส่าวนนำชัดเจน และตรวจพบปากมดลูกขยายหมดส่วนมาก บางครั้งปากมดลูกขยายไม่เต็มที่
Membrane leage (ML) ตรวจพบถุงน้ำไม่ค่อยแข็งตึง อาจคลำได้ส่วนนำ สังเกตเห็นน้ำคร่ำออกมาเรื่อยๆ ขณะตรวจ หรือเมื่อมดลูกหดรัดตัว
สภาพปากมดลูก
ตำแหน่งของปากมดลูก
ในระยะแรกคลอดปากมดลูกจะอยู่ด้านหลังและค่อยๆเลื่อนมาอยู่ตรงกลางและมาอยู่ด้านหน้าเมื่อระยะการคลอดก้าวหน้ามากขึ้น
การบวมของปากมดลูก
มักพบในผู้คลอดที่เบ่งก่อนเวลา จึงทำให้ปากมดลูกส่วนหน้าถูกกฎ ระหว่างศีรษะทารกกับช่องทางคลอด ทำให้การไหลเวียนของเลือดไม่สะดวก จึงเกิดการบวม ซึ่งส่งผลให้ปากมดลูกยืดขยายได้น้อย
ความบางของปากมดลูก
การตรวจหาความบางของปากมดลูกโดยการสอดนิ้วเข้าไปในช่องปากมดลูกจนถึงถุงน้ำหรือส่วนนำช่องปากมดลูกจากการตรวจจะรู้สึกเป็นรอยบุ๋มและคำขอบโดยรอบความหนาบางของปากมดลูกเราคะเนได้จากความบาง
หรือความหนาของขอบโดยรอบตำแหน่งของรอยบุ๋ม
เกิดขึ้นเมื่อมดลูกหดรัดตัวแล้ว Internal os ถูกดึงรั้งขึ้นไประหว่างตั้งครรภ์มดลูกยังไม่มีการหดรัดตัว ปากมดลูกยังไม่มีการยืดขยาย ความยาวของปากมดลูก cervical canal จาก Internal os ถึง External os ประมาณ 2 เซนติเมตรเมื่อมีการยืดขยายเกิดขึ้นความยาวจะสั้นลง
ถ้าความหนาเหลือเพียง 1 cm cervical effacement เท่ากับ 50%
ถ้าความหนาเหลือเพียง 0.5 cm cervical effacement เท่ากับ 75%
ถ้าความหนาเหลือเพียง 0.2-0.3 cm cervical effacement เท่ากับ 100%
การเปรียบเทียบการขยายตัวของปากมดลูก
เปรียบเทียบจากเส้นผ่าศูนย์กลางของวงกลม ที่เปรียบเทียบตั้งแต่การขยายเป็นเส้นผ่านย์กลาง 1-10 cm คลำขอบของปากมดลูก
เทียบจากความกว้างของนิ้วมือ Finger breadth เปรียบเทียบได้โดยไม่มีการขยายตัว
ข้อห้ามในการตรวจภายใน
เมื่อมองเห็นศีรษะของทารกในครรภ์แล้ว
ในระยะที่มีการอักเสบมากบริเวณทวารหนัก เช่น hemorrhoid,diarrh
ส่วนนำทารกยังไม่เข้าสู่ช่องเชิงกรานร่วมกับอายุครรภ์ยังไม่ครบกำหนดคลอด
กรณีที่ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด ควรตรวจเท่าที่จำเป็นเท่านั้นเพื่อลดการติดเชื้อ
ผู้คลอดที่มีประวัติเลือดออกระหว่างการตั้งครรภ์หรือกำลังมีเลือดออกโดยไม่ทราบสาเหตุหรือรกเกาะต่ำทุกราย
ข้อบ่งชี้ในการตรวจภายใน
เมื่อเจ็บครรภ์ถี่และรุนแรงขึ้นสงสัยว่าปากมดลูกเปิดหมด
สงสัยว่าทารกในครรภ์อยู่ในถ้าผิดปกติ
ในรายถุงน้ำทูนหัวแตกทันทีที่นึกถึงภาวะ fetal distress จาก prolapsed of umbilical cord
ก่อนการสวนอุจจาระให้กับผู้คลอด
ผู้คลอดที่อยู่ในระยะที่ 1 ของการคลอดตรวจดูความก้าวหน้าของการคลอด
ในระยะของการคลอดล่าช้า Prolonged stage of labor
ผู้คลอดรับใหม่ทุกราย ยกเว้นมี Bleeding per vagina,placenta previa
หลักการประเมินสภาวะของทารกในครรภ์
การวิเคราะห์เลือดของทารก
โดยปกติเลือดของทารกในครรภ์จะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 7.20-7.45
ถ้า PH ของเลือดต่ำกว่า 7.20 ถือว่าทารกมีภาวะเลือดเป็นกรด acidosis ต้องรีบช่วยเหลือแก้ไขและช่วยให้การคลอดสิ้นสุดลงโดยเร็ว
ในกรณีที่กล่าวมาอาจพบว่าค่า pH ของเลือดทารกต่ำแต่ทารกกลับมีคะแนน Apgar แรกเกิดดีก็ได้
การตรวจหาค่า pH ของเลือดทารกเพียงอย่างเดียวจะบอกภาวะ fetal distress ได้ถูกต้องเพียงร้อยละ 80 เท่านั้น ดังนั้นการตรวจเลือดทารกในครรภ์ควรทำร่วมกับการตรวจวิธีอื่นด้วย
การดิ้นของทารก
ในภาวะปกติทารกในครรภ์มีการเคลื่อนไหวอย่างน้อย 10 ครั้งในช่วงระยะเวลา 12 ชั่วโมง
การที่เลือดไปเลี้ยงมดลูกและรกลดลง ทำให้ทารกได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ อาจส่งผลให้ทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง
ในผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยงสูง อาการนามที่แสดงถึงภาวะผิดปกติของทารกในครรภ์คือทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลงจนกระทั่งหยุดดิ้น โดยจะยังคงฟังเสียงหัวใจอย่างน้อย 12 ชั่วโมงซึ่งจัดว่าเป็นข้อบ่งชี้ที่ต้องช่วยเหลือให้มีการคลอดอย่างรีบด่วน
ลักษณะน้ำคร่ำ
โดยปกติเมื่ออายุครรภ์ไม่ครบกำหนดน้ำคร่ำมีลักษณะใสสีเหลืองจางๆคล้ายสีฟางข้าวเมื่อใกล้ครบกำหนดคลอดน้ำคร่ำจะขุ่นคล้ายน้ำมะพร้าวเนื่องจากมีขายของทารกปนออกมาด้วย
ถ้าถุงน้ำคล่ำแตกแล้วมีขี้เทาปนจะสังเกตเห็นน้ำคร่ำมีสีเขียวหรือสีเหลืองน้ำตาลและข้นซึ่งบ่งบอกถึงภาวะทารกขาดอากาศหายใจ fetal distress
เมื่อทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจนทำให้กล้ามเนื้อหูรูดทวารหนักของทารกคลายตัวขับขี้เทาปนออกมาในน้ำคร่ำซึ่งเป็นภาวะผิดปกติ พบเฉพาะในกรณีที่ทารกมีศีรษะเป็นส่วนหนึ่งเท่านั้น ส่วนทารกที่มีก้นเป็นส่วนนำและตรวจพบที่เทาบ่นไม่ถือว่าผิดปกติเนื่องจากแรงขับจากการหดรัดตัวของมดลูกกดลงบริเวณท้องทารกทำให้ขี้เทาถูกขับออกมาได้ง่าย
การบันทึกอัตราการเต้นของหัวใจทารกโดยใช้เครื่องอิเล็คโทรนิกส์ EFM
การแปลผลบันทึกลักษณะของอัตราการเต้นของหัวใจในภาวะปกติ 110-160 ครั้งต่อนาที เรียกว่า Baseline fetal heart rate (FHR) ถ้า FHR มีการเปลี่ยนแปลงชั่วคราวโดยสัมพันธ์กับการหดรัดตัวของมดลูก เรียกว่า periodic FHR ถ้า FHR เร็วกว่า baseline เล็กน้อยเรียกว่า accelebration คือ FHR เพิ่มขึ้นในอัตรา 15 ครั้งต่อนาที ครั้งต่อนาทีนานประมาณ 15 วินาที (รายที่อายุครรภ์มากกว่า 32 สัปดาห์)ถือว่าทารกได้รับออกซิเจนเพียงพอ
การเต้นของหัวใจ
การฟังเสียงหัวใจทารกจะช่วยวินิจฉัยภาวะขาดออกซิเจน
ปกติอัตราการเต้นของหัวใจทารกอยู่ในช่วงประมาณ 110-160 ครั้ง/นาทีมีอัตราการเต้นสม่ำเสมอ
ควรฟังภายหลังมดลูกคลายตัวประมาณ 20-30 วินาที เพราะในระหว่างมดลูกหดรัดตัวอัตราการเต้นของหัวใจทารกอาจลดเหลือประมาณ 70-110 ครั้ง/นาที และเมื่อมดลูกคลายตัวแล้วประมาณ 20-30 วินาทีอัตราการเต้นของหัวใจทารกกลับสู่ภาวะปกติการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจัดว่าเป็น physiological bradycardia เนื่องจากทารกถูกกดดันลงมาในช่องเชิงกรานทำให้หัวใจทารกเต้นช้าลงและมีภาวะขาดออกซิเจนเล็กน้อยในช่วงเวลาสั้นแต่ทารกสามารถปรับตัวได้ :
ตำแหน่งที่ฟังอัตราการเต้นของหัวใจทารกจะอยู่ที่บริเวณรอยต่อกระดูกหัวหน่าว Symphysis pubis ซึ่งแสดงว่าใกล้คลอด
ในผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยงต่ำในระยะ latent ควรฟังทุก 1 ชั่วโมง และในระยะ Active ควรฟังทุก 30 นาที
ในผู้คลอดที่มีภาวะเสี่ยงสูงในระยะ latent ควรฟังทุก 30 นาที และในระยะ Active ควรฟังทุก 15 นาที
ในผู้คลอดที่ถุงน้ำคร่ำแตกควรฟังเสียงหัวใจทารกทันที หลังจากนั้นฟังทุก 5-10 นาทีโดยเฉพาะในรายที่มีภาวะขี้เทาในน้ำคร่ำและรายที่ส่วนนำยังอยู่สูงซึ่งอาจมีการพลัดต่ำของสายสะดือทำให้เสียงหัวใจทารกผิดปกติ
แนวทางการดูแลและส่งเสริมสุขภาพมารดาและมารกในระยะที่ 1 ของการคลอด
Bladder
Hygine
Food/Water
Drug
Position
Discomfort
ลด Pain
Activity
V/S
Sign
เบี่ยงเบนความสนใจ
เบี่ยงเบนความสนใจ
ระยะปากมดลูกเปิด 1-4 3 เซนติเมตร แนะนำให้เดิน พูดคุย หรืออ่านหนังสือ
ระยะปากมดลูกเปิด 4-8 cm แนะนำให้จิตใจจดจ่อ นับลมหายใจ
ระยะปากมดลูกเปิด 8-10 cm แนะนำให้หายใจลึกๆ
การป้องกันอันตรายต่อสุขภาพหญิงในระยะที่ 1 ของการคลอด
ผู้คลอดอยู่ในภาวะอันตราย
Hypertonicity : D>75 sec. หน้าท้องเป็นลอนสูง
Maternal exhaustion/distress
Emotional distress
ทารกอยู่ในภาวะเครียด Fetal distress : FHS < 120 , >160 ครั้ง/นาที
ความก้าวหน้าของการคลอดล่าช้า
Latent Phase : G1>20 ซม. Gหลัง > 14 ซม.
ACTIVE PHASE : G1 1.2 ซม. Gหลัง 1.5 ซม.