Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหา…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล
บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลความต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านการขับถ่ายปัสสาวะ
การขับถ่ายปัสสาวะ เป็นการรักษาความสมดุลของเหลว เกลือแร่ และสารที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายซึ่งเป็นการทำงานร่วมกันของไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะระบบประสาทที่อยู่ในอำนาจจิตใจ
ลักษณะปกติของปัสสาวะ
ปริมาณ
ปริมาณปัสสาวะที่ขับถ่ายออกจะแตกต่างกันตามวัย
สี
สีปัสสาวะแตกต่างกันตามปริมาณสารน้ าที่รับเข้าสู่ร่างกาย
ความใส
ปกติปัสสาวะจะใส ไม่มีตะกอนขุ่น
กลิ่น
ปัสสาวะที่เพิ่งขับถ่ายออกมาจะมีกลิ่นอ่อน ปัสสาวะที่ใส่ภาชนะตั้งไว้นาน ๆ
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
การเติบโตและพัฒนาการ
การขับถ่ายได้ดีขึ้นเมื่อเติบโตขึ้นตามวัย จวบจนก้าวเข้าสู่วัย
สูงอายุเป็นวัยที่มีการเสื่อมของกล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
2.ปัจจัยด้านอารมณ์ จิตใจ
ความวิตกกังวล และความเครียดท าให้มีความรู้สึกปวด
ปัสสาวะ ปัสสาวะบ่อย และปัสสาวะได้ไม่สุด
นิสัยส่วนบุคคล
คนส่วนใหญ่จะปัสสาวะได้เฉพาะเวลาที่อยู่ในห้องสุขาที่สะอาด
ปกปิดมิดชิด
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
กล้ามเนื้อที่หน้า
ท้องและกล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกราน ถ้ากล้ามเนื้อทั้ง 2 ส่วนนี้อ่อนแรงลงจะไม่
สามารถเบ่งปัสสาวะออกมาได้ตามปกต
ปริมาณสารน้ าที่รับเข้าสู่ร่างกาย
ขณะที่ร่างกายอยู่ในภาวะสมดุลของ
สารน้ำ แล้วได้รับสารน้ าเพิ่มเข้าสู่ร่างกายจะท าให้มีการผลิตปัสสาวะเพิ่มขึ้น ปริมาณสารน้ำาที่เข้าสู่ร่างกายนี้มีผลต่อจ านวนครั้ง
ปริมาณน้ำที่สูญเสียออกจากร่างกาย
ผู้ที่มีการสูญเสียน้ำออกจาก
ร่างกายที่นอกเหนือจากการสูญเสียน้ าทางปัสสาวะ
พยาธิสภาพของโรค
การเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ ส่งผลต่อการ
ขับถ่ายปัสสาวะ
การมีไข้
การบาดเจ็บของไขสันหลัง
การอุดกั้นการไหลของปัสสาวะ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การตั้งครรภ
ระหว่างการตั้งครรภ์มดลูกจะมีขนาดและน้ าหนักที่เพิ่มขึ้นแล้วไป
กดทับกระเพาะปัสสาวะ
การผ่าตัด
ร่างกายจะตอบสนองต่อภาวะเครียดจากการผ่าตัด โดยการเพิ่ม
การหลั่งแอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน
ยา
ยาขับปัสสาวะ
ยากลุ่มในcholinergic
ยากลุ่ม anticholinergic
ยาบางชนิดทำให้สีปัสสาวะเปลี่ยน
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจวินิจฉัยในระบบทางเดินปัสสาวะชนิดที่ต้องมีการ
สอดใส่เครื่องมือผ่านเข้าไปในกระเพาะปัสสาวะอาจจะกระทบกระเทือนต่ออวัยวะ
ฮอร์โมน
Estrogen ในผู้หญิงวัยหมดประจ าเดือนหรือผ่าตัดรังไข่ออก
Antidiuretic hormone (ADH) เพิ่มการดูดกลับของน้ าในกระบวนการ
สร้างปัสสาวะ
Cortisol ส่งเสริมให้มีการคั่งของน้ า ท าให้สร้างปัสสาวะน้อยลง
Aldosterone เพิ่มการดูดกลับของน้ าในร่างกาย
ความผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
ถ่ายปัสสาวะไม่ออก
การมีปัสสาวะเหลือค้างในกระเพาะปัสสาวะภายหลังถ่ายปัสสาวะเสร็จทันที
(residual urine) มากผิดปกติ มีสาเหตุมาจาก
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ
จากความผิดปกติของ ระบบประสาท
ความผิดปกติของจิตใจ
ผลจากการใช้ยาบางชนิด
การวัดปริมาณท าโดยการสวนปัสสาวะหลังจากผู้ป่วยเพิ่ง
ปัสสาวะเสร็จทันทีแล้ววัดปริมาณปัสสาวะที่ได้ ปกติต้องไม่เกิน 100 มิลลิลิตร
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะส่วนใหญ่ปัสสาวะส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อโรคที่เข้ามาทาง
ท่อปัสสาวะ
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
Total incontinence ปัสสาวะจะไหลออกตลอดเวลา ไม่สามารถควบคุมการ
ปัสสาวะได้เลย
Functional incontinence ความรู้สึกปวดปัสสาวะเป็นแบบทันทีทันใดและ
ปัสสาวะไหลออกมาก่อนที่จะถึงห้องน้า
Stress incontinence เป็นภาวะที่มีปัสสาวะเล็ดออกมาโดยควบคุมไม่ได้
จานวนน้อยกว่าครั้งละ 50 มิลลิลิตร
Urge incontinence เป็นภาวะที่ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้นานพอที่จะ
ไปถึงห้องน้า ปัสสาวะไหลออกมาหลังจากที่รู้สึกปวดปัสสาวะทันทีทันใด
Reflex incontinence เป็นภาวะที่การควบคุมการขับถ่ายปัสสาวะเสียไป
ไม่มีความรู้สึกปวดปัสสาวะ
ปัสสาวะลำบาก
การปัสสาวะล าบากที่มีอาการปวดแสบร่วมด้วย
สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะหรือท่อปัสสาวะ
ปัสสาวะมาก
เป็นภาวะที่ไตมีการสร้างปัสสาวะออกมามากกว่า
วันละ2,500-3,000 มิลลิลิตร
ปัสสาวะน้อย
็นภาวะที่ไตมีการสร้างปัสสาวะออกมาน้อยกว่า
วันละ 500 มิลลิลิตร
ไม่มีปัสสาวะ
เป็นภาวะที่ไตสูญเสียการท าหน้าที่ในการสร้าง และขับ
ปัสสาวะ ท าให้ปริมาณปัสสาวะน้อยกว่า วันละ 100 มิลลิลิตร
ปัสสาวะตอนกลางคืน
เป็นการตื่นขึ้นมาปัสสาวะตอนกลางคืน สาเหตุ
จากการดื่มน้ าก่อนเข้านอนในปริมาณมาก
ปัสสาวะรด
เป็นการปัสสาวะที่ไม่สามารถควบคุมได้ ไม่รู้ตัวขณะ
ปัสสาวะในผู้ที่มีอายุเกิน 4-5 ปีถือว่ามีความผิดปกต
การส่งเสริมการท าหน้าที่ของระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 2 ลิตร
ส่งเสริมสุขอนามัย การทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ส่งเสริมความแข็งแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกรานและกล้ามเนื้อหน้า
ท้อง โดยการออกกาลังกาย การขมิบก้น
ส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ ไม่กลั้นปัสสาวะ
การจัดหาอุปกรณ์ที่เหมาะสมสาหรับผู้ที่ไม่สามารถลุกเข้าห้องน้ าได้เอง
การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ
การฝึกการขับถ่ายปัสสาวะ
การนวดกระเพาะปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะ
เตรียมอุปกรณ์สวนปัสสาวะ (ช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพ)
สายสวนปัสสาวะ(Urinary catheter)
สายสวนปัสสาวะชนิดตรง ทำจากยางแดง
2 สายสวนปัสสาวะโฟเล่ย์ (Foley’s
catheter)
ชุดสวนปัสสาวะ
ถ้วยใบเล็ก 2 ใบ ใช้รองรับน้ าปัสสาวะที่สวนได้
ถ้วยใส่ส าลี 8 ก้อน และ ผ้าก๊อซขนาด 3x3 นิ้ว 1 ผืน
ปากคีบชนิดไม่มีเขี้ยว
ปากคีบชนิดมีเขี้ยว
ผ้าสี่เหลี่ยมเจาะกลาง 1 ผืน
น้ำยาทำความสะอาดหรือน้ำยาทำลายเชื้อ
4น้ำกลั่นปราศจากเชื้อ
สารหล่อลื่นชนิดที่ละลายน้ า เช่น เค-วายเจลลี
ถุงรองรับปัสสาวะ
ถุงพลาสติกใส ขนาด 2,000 มล. มีขีดบอกปริมาตร
ปัสสาวะ
กระบอกฉีดยาปราศจากเชื้อ
พลาสเตอร์ ส าหรับติดสายสวนปัสสาวะ
ถุงพลาสติกใส่ขยะ
ถุงมือปราศจากเชื้อ 1 คู่
การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะ
ดูแลให้ปัสสาวะไหลลงถุงรองรับปัสสาวะสะดวกตลอดเวลา
ระวังไม่ให้สายบิด
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 3 ลิตร รับประทาน
เนื้อสัตว์ ผลไม้รสเปรี้ยว
ตวง และบันทึกปริมาณน้ าดื่มและปัสสาวะให้ถูกต้อง
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบว่าจะมีความรู้สึกปวดถ่ายปัสสาวะ
ตลอดเวล
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกด้วยน้้ำและสบู่ อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
และทุกครั้งที่ถ่ายอุจจาระ
ดูแลให้ชุดสวนปัสสาวะอยู่ในระบบปิด
เทปัสสาวะออกจากถุงรองรับปัสสาวะอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
ดูแลให้สายระบายปัสสาวะ และถุงรองรับปัสสาวะอยู่ต่ ากว่าระดับกระเพาะ
ปัสสาวะ
ติดพลาสเตอร์ในต าแหน่งที่ถูกต้อง
แนะน าการปฏิบัติตนขณะคาสายสวนปัสสาวะ
หลีกเลี่ยงการสัมผัสบริเวณรอยต่อของสาย และบริเวณใกล้ทางเปิดของท่อ
ปัสสาวะ
สังเกตลักษณะ จ านวน และ สีปัสสาวะ
ชุดสายระบายปัสสาวะ และถุงรองรับปัสสาวะควรได้รับการเปลี่ยนทุก 30
วัน
ผู้ที่เทปัสสาวะออกจากถุงรองรับปัสสาวะ ต้องล้างมือก่อนและหลังเทปัสสาวะ
สังเกตการรั่วซึมของปัสสาวะ
16.ท้องผูก ช่วยเหลือให้ขับถ่ายอุจจาระ
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะ
มีเลือดอุดตันในระบบของการระบายปัสสาวะ
ไม่มีปัสสาวะในถุงรองรับปัสสาวะ
1)ปัสสาวะมีการรั่วซึมออกมาจากทางเปิดท่อทางเดินปัสสาวะ
หรือไม
2)หากไม่พบการรั่วซึมให้ ตรวจสอบว่าปัสสาวะไหลออกมาได้
สะดวกหรือไม่ หาก Foley’s catheter
สังเกตและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ
•การถอดสายสวนปัสสาวะเป็นการน าสายสวนปัสสาวะที่คาอยู่ในกระเพาะปัสสาวะ
และท่อปัสสาวะออก
•ดังนั้นก่อนท าการถอดสายสวนปัสสาวะจึงต้องตรวจสอบค าสั่งการรักษาให้
ถูกต้อง
• เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อมก่อนให้การพยาบาลอุปกรณ์ที่ใช
ถุงมือสะอาด
2.กระบอกสูบขนาด 10 มิลลิลิตร
3.ถุงขยะ
4.กระดาษชำระ
5.หากผู้ป่วยไม่สามารถทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกได้ด้วยตนเอง
การดูแลช่วยเหลือเมื่อปฏิบัติการถอดสายสวนปัสสาวะ
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้ง
นำอุปกรณ์ไปที่เตียงผู้ป่วยสอบถามชื่อ-นามสกุล แจ้งให้ผู้ป่วยทราบ
ปิดพัดลม กั้นม่าน ปรับระดับเตียงให้เหมาะสมเ ตรียมสิ่งแวดล้อมลดการฟุ้ง
กระจายของเชื้อโรค เคารพสิทธิ์ผู้ป่วย
สวมถุงมือสะอาดป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ปิดล็อกสายระบายปัสสาวะป้องกันปัสสาวะไหลออกจากสาย
ปลดพลาสเตอร์ออกเป็นการเตรียมความพร้อม
ต่อกระบอกสูบกับหางสายสวนปัสสาวะด้านที่ใส่น้ ากลั่น ดูดน้ำกลั่นออกจน
หมด
บอกผู้ป่วยให้หายใจเข้า-ออก ลึก ๆ ยาว ๆ พร้อม กับบีบสายสวนปัสสาวะ
9.แนะน าให้ผู้ป่วยทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกด้วยสบู่และน้ำซับให้แห้ง
10.จัดให้ผู้ป่วยนอนในท่าที่สุขสบาย
เก็บอุปกรณ์ ออกจากเตียงผู้ป่วยป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อโรค
ตวงจำนวนปัสสาวะ เพื่อเป็นข้อมูลในการรักษาต่อเนื่อง
การดูแลช่วยเหลือเมื่อปฏิบัติการถอดสายสวนปัสสาวะ
หลังการถอดสายสวนปัสสาวะ
•ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้ง
•ทำการบันทึก วัน เวลา จำนวน สี ลักษณะปัสสาวะ สภาพของทางเปิดท่อ
ปัสสาวะ
•สังเกตภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น
การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยหลังถอดสายสวนปัสสาวะ
ดูแล และช่วยเหลือให้ผู้ป่วยปัสสาวะได้เองภายใน 8 ชั่วโมง หลังถอดสายสวน
ปัสสาวะ หากปัสสาวะไม่ออกให้รายงานแพทย์
ดูแล และแนะนาให้ดื่มน้ าอย่างเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 2 ลิตร
สอนการบริหารกล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกรานโดยการขมิบก้น
ส่งเสริมสุขอนามัยการท าความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ และไม่กลั้นปัสสาวะ
สอนให้สังเกตอาการของการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ