Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 5 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
วัณโรค
(Tuberculosis)
สาเหตุ: เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Mycobacterium tuberculosis
การติดต่อ: ไอ หายใจรดกัน
ระยะฟักตัว: 2-10 สัปดาห์
อาการ: ระยะแรกไม่แสดงอาการ
การรักษาCombine drug อย่างน้อย 3 อย่าง (pyrazinamide, streptomycin,rifampin, isoniacid, ethabutal) กินยาต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
โรคไข้เลือดออกเดงกี่
Dengue hemorrhagic fever
การดำเนินโรค แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะไข้สูง (Febrile stage): ส่วนใหญ่ไข้สูงลอย T>38.5 ºC (2-7 วัน)
มักมีหน้าแดง ส่วนใหญ่ไม่มีน้้ามูกไหลหรือไอ
อาจปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา
อาจมีเบื่ออาหาร อาเจียน ปวดท้องด้วย
ระยะตับโต หรือใกล้ไข้ลงจะปวดชายโครงขวา
ระยะวิกฤตหรือช็อก (Critical stage)
รุนแรง มีการไหลเวียนล้มเหลว จากพลาสมารั่วไปช่องเยื่อหุ้มปอด/ช่องท้องมาก เกิดภาวะช็อก (Hypovolemic shock)
อาการกระสับกระส่าย มือเท้าเย็น pulse pressure แคบ<20 mmHg
(ปกติ 30-40 mmHg)
เป็นระยะที่มีการรั่วของพลาสมา ซึ่งพบทุกราย โดยระยะรั่ว 24-48 ชั่วโมง
ส่วนใหญ่รู้สติดี พูดรู้เรื่อง กระหายน้้า อาจปวดท้องกะทันหันก่อนเข้าสู่ภาวะช็อก
ระยะฟื้นตัว (Convalescent stage)
ผู้ป่วยช็อก รักษาถูกต้อง เมื่อการรั่วของพลาสมามาหยุด Hct.ลงมาคงที่ ชีพจรช้าลงและแรงขึ้น BPปกติ pulse pressure กว้าง จ้านวนปัสสาวะเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยที่ไม่ช็อก เมื่อไข้ลงก็จะดีขึ้น
อาจมีผื่นลักษณะวงกลมเล็กๆสีขาวของผิวหนังปกติท่ามกลางผื่นสีแดง
อาการดีชัดเจน อาจพบหัวใจเต้นช้า (Bradycardia)
อาการมีอาการไข้อย่างเฉียบพลันและสูงลอย 2-7 วัน และร่วมกับมีอาการอย่างน้อย 2 ข้อ คือ ปวดศีรษะ ปวดกระบอกตา ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ปวดข้อ/ปวดกระดูก ผื่น เลือดออก(จุดจ้้าเลือด เลือดก้าเดา)
การรักษา
ระยะไข้สูง ให้ยาลดไข้ ห้ามให้แอสไพริน มีฤทธิ์ต้านการรวมตัวของเกร็ดเลือดถ้าอาเจียนอาจให้ยาระงับการอาเจียนและให้ผงเกลือแร่ ORS น้อยๆบ่อยๆ
ระยะช็อก มุ่งแก้อาการช็อกและอาการเลือดออก ให้สารน้้า ไม่ควรให้นานเกิน24-48 ชั่วโมง จนสัญญาณชีพดีขึ้น
ระยะพักฟื้น เป็นช่วงสารน้้ากลับเข้าสู่หลอดเลือด จ้าเป็นต้องหยุดหรือลดให้สารน้้าทางหลอดเลือดด้า
การติดเชื้อที่ผิวหนัง
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อแบคทีเรีย
โรคแผลพุพอง (Impetigo)
โรคเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ (Cellulitis)
โรคไฟลามทุ่ง (Erysipelas)
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อไวรัส
หูด (Warts)
หูดข้าวสุก (Molluscum contagiosum)
โรคผิวหนังมีการติดเชื้อรา
โรคกลาก (Dermatophytosis)
โรคกลากที่ศีรษะ และเส้นผม (tinea capitis)
โรคกลากที่ใบหน้า (tinea faciei)
โรคกลากที่ล่าตัว (tinea corporis)
โรคกลากที่ขาหนีบ (tinea cruris)
โรค Candidiasis
โรคผิวหนังจากเชื้อปรสิต
โรคหิด (scabies)
เหาศีรษะ (Head louse)
โรคผิวหนังอักเสบ
โรคมือเท้าปาก
(Hand Foot Mouth Disease)
สาเหตุ: เกิดจากเชื้อไวรัส Enterovirus
การติดต่อ:ทาง fecal-oral ทางการหายใจ
ระยะฟักตัว: 2-6 วัน
อาการและอาการแสดงเริ่มจากการมีไข้ต่้าๆ เจ็บคอ มีผื่นผื่นเริ่มจากจุดนูนแดงเล็กๆ เจ็บ ต่อมาเป็นตุ่มขนาด 3-7 mm. ไม่เจ็บแห้งใน1 สัปดาห
การติดต่อ:
การสัมผัสโดยตรงตรงกับสารคัดหลั่งจากจมูก, ล้าคอ และน้้าจากในตุ่มใส
อุจจาระของผู้ป่วยซึ่งมีเชื้อไวรัสอยู่ ช่วงที่แพร่กระจายมากที่สุด คือ สัปดาห์แรกที่ผู้ป่วยมีอาการ จนกว่ารอยโรคจะหายไป ยังพบเชื้อในอุจจาระผู้ป่วยต่อได้อีกประมาณ 2-3 สัปดาห
การรักษา
รักษาแบบประคับประคองและบรรเทาอาการ หากไม่มีภาวะแทรกซ้อน เป็นโรคที่สามารถหายเองได้เอง โดยใช้ระยะเวลาประมาณ 7 วัน ลดอาการเจ็บปวด จากแผลในปาก โดยป้ายยาชาบริเวณที่เป็นแผลก่อนรับประทานอาหาร
การป้องกัน
แยกเด็กไม่ให้ร่วมกิจกรรมกับเด็กอื่น เช่น ว่ายน้้า ไปโรงเรียน ใช้สนามเด็กเล่น เป็นเวลา 1 สัปดาห์
ผู้ดูแลล้างมือบ่อยๆ โดยเฉพาะหลังเปลี่ยนผ้าอ้อม หรือ สัมผัสกับน้้าลาย/น้้ามูกเด็ก
ท้าความสะอาดพื้นห้องน้้า สุขา เครื่องใช้ ของเล่น สนามเด็กเล่น ตลอดจนเสื้อผ้าที่อาจปนเปื้อนเชื้อด้วยน้้ายาฆ่าเชื้อที่ใช้ทั่วไปในบ้าน
เชื้ออยู่ในอุจจาระได้นาน 6-12 สัปดาห
เอดส์ในเด็ก HIV / AIDS
ระยะฟักตัว: ประมาณ 2-3 เดือน แสดงอาการภายใน 5 ปี
สาเหตุ: เกิดจากเชื้อไวรัส HIV
การติดต่อ:จากแม่สู่ลูก การได้รับเชื้อ ได้รับเลือดการมีเพศสัมพันธ์
อาการ: เอดส์ในเด็กมีอาการของ Major sign อย่างน้อย 2 ข้อ และ Minorsign อย่างน้อย 2 ข้อ
Major sign:
น้้าหนักลด
ท้องร่วงเรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีไข้เรื้อรัง มากกว่า 1 เดือน
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
Minor sign:
ต่อมน้้าเหลืองทั่วไปโต
ปากเป็นแผล
มีการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจบ่อยๆ
ไอเรื้อรัง
ผิวหนังอักเสบทั่วไป
แม่เป็นเอดส
การป้องกัน รักษาให้ยาต้านไวรัส คือ AZT โดยให้หญิงตั้งครรภ์รับประทานทุก 12 ชม. เมื่ออายุครรภ์ครบ 32-34 สัปดาห์ และเพิ่มเป็นทุก 3 ชม. เมื่อเจ็บครรภ์จนกระทั่งคลอด
โรคติดเชื้อของวัคซีน
โรคไอกรน (Pertussis) เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่สร้างสารพิษแบคทีเรียนั้นติดต่อโดยง่ายดายระหว่างคนต่อคนโดยละอองไอ อาการเริ่มต้นคือมีหวัดเล็กน้อย จากนั้นจะไอมากขึ้น มีเสมหะ และอาการไออย่างหนัก
โรคโปลิโอ (Polio) หรือโรคแขนขาลีบ เกิดจากเชื้อไวรัสสามารถแพร่เชื้อสู่คนได้โดย สิ่งปฏิกูล อาหาร และน้้า อาจรวมไปถึงละอองไอด้วย อาการของโรค อาจมีเพียงเล็กน้อย
โรคบาดทะยัก (Tetanus) เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่มีทั่วไปตามธรรมชาติ เช่นตามพื้นดิน และมูลสัตว์ ง่ายต่อการติดต่อเมื่อสิ่งสกปรกเข้าไปในแผล แบคทีเรียสร้างพิษ และมีผลท้าให้กล้ามเนื้อรัดและแข็งตัว
โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิดบี (Haemophilus InfluenzaeB) เป็นเชื้อแบคทีเรียที่สามารถก่อให้เกิดโรคร้ายแรงได้ เช่นโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคหลอดลมอักเสบ โรคปอดบวม ติดเชื้อในกระแสเลือด และโรคไขข้ออักเสบ วัคซีนป้องกันเชื้อแบคทีเรียนี้ได้ประสิทธิภาพที่ด