Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การกำหนดกรอบแนวคิด / และ ประเภทของวิจัย, นางสาวอรณา สุทธิเชษฐ์ รุ่นที่…
การกำหนดกรอบแนวคิด / และ ประเภทของวิจัย
ประเภทของการวิจัย
แบ่งตามระโยชน์ของการนำผลการวิจัยไปใช้
การวิจัยประยุกต์ (applied research)
เป็นวิจัยที่เป็นไปเพื่อ
จะนำผลวิจัยที่เกิดขึ้นไปใช้ในการทำงานจริง
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ (action research)
เป็นการวิจัยที่มุ่งทำให้เกิดผลที่เป็นพัฒนางานหรือแก้ไขข้อบกพร่องของหน่วยงานมีความเฉพาะเจาะจง
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (basic or pure research)
ผลจากการวิจัยนี้จะเป็นสูตร กฎ หรือทฤษฎีในการเรียนหรือ
การวิจัยในสาขานั้นๆต่อไป
แบ่งตามความสามารถในการควบคุมตัวแปร
การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (quasi experimental
research)
เป็นการวิจัยที่ควบคุมได้บางส่วน
การวิจัยเชิงธรรมชาติ (naturalistic research)
ไม่ต้องควบคุมตัวแปรแทรกซ้อน
การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)
เป็นการวิจัยที่ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้เต็มที่
แบ่งตามวัตถุประสงค์และวิธีการเสนอข้อมูล
การวิจัยเชิงคาดคะเน (predictive research)
เป็นการวิจัยที่ให้ผลการวิจัยที่บอกสิ่งที่ยังไม่เกิด แต่คาดไว้ว่าจะเกิดอย่างไร
การวิจัยเชิงวินิจฉัย (diagnostic research)
เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาปัญหาหรือสาเหตุของปัญหา
การวิจัยเชิงอรรถาธิบาย (explanatory research)
ไม่มีการทดลอง แต่หาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ หรือหาปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปรได้
การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research)
เป็นการวิจัยคล้ายกับแบบสำรวจตรงที่ไม่มีการทดลอง
การวิจัยขั้นสำรวจ (exploratory research)
เป็นการหาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรที่ศึกษาว่าเป็นอย่างไร เช่น จำนวน ร้อยละ มาก-น้อย สูง-ต่ำ
แบ่งตามระเบียบวิธีการวิจัย
การวิจัยเชิงทดลอง (experimental research)
มีการทดลอง
การวิจัยเชิงย้อนรอย (expostfacto research)
เป็นการวิจัยที่ศึกษาจากผลไปหาเหตุ
การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research
)
ไม่มีการทดลองใดๆในการวิจัย ศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน
การวิจัยเชิงสำรวจ (survey research)
หาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรว่ามีคุณลักษณะอย่างไร จำนวนเท่าไหร่
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (historical research)
ศึกษาว่าในอดีตเกิดอะไรขึ้น ปัจจุบันเป็นอย่างไร หาความสัมพันธ์ตัวแปรบางตัวในอดีตกับปัจจุบัน
การวิจัยเชิงประเมินผล (evaluative research)
ประเมินผลอาจใช้ CIPP แบบที่นักวิจัยไทยนิยม ประเมินว่า contextคือบริบทของงานที่ประเมินเป็นอย่างไร วัตถุประสงค์กับปัญหาสอดคล้องกันไหม input
แบ่งตามลักษณะข้อมูล
การวิจัยเชิงคุณภาพ ( qualitative research )
การวิจัยแบบผสม ( mixed methods )
แบบคู่ขนาน
แบบลำดับก่อนหลัง
การวิจัยเชิงปริมาณ ( quantitative research )
แบ่งตามวิธีการเก็[รวบรวมข้อมูล
การวินิจฉัยจากเอกสาร (Documentary research )
ผู้วิจัยรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร รายงาน จดหมายเหตุ
การวิจัยจากาการสังเกตุ ( observation research )
เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีสังเกต นิยมใช้มากโดยการสังเกตพฤติกรรมของบุคคลในแง่สังคม
การวิจัยแบบสำมะโน ( Census research )
เก็บรวบรวมจากทุกๆ หน่วยประชากร
การศึกษาเฉพาะกรณี ( Case study )
ศึกษาในขอบเขตแคบ ๆ ใช้จำนวนตัวอย่างไม่มากเพื่อหาทางแก้ไขและช่วยเหลือต่อไป
การศึกษาแบบต่อเนื่อง ( Panel study )
มีการเก็บข้อมูลเป็นระยะ เพื่อดูการเปลี่ยนแปลง
การวิจัยเชิงทดลอง ( Experimental research )
เก็บข้อมูลจากการทดลอง
การวิจัยแบบสำรวจจากตัวอย่าง( Sample survey research )
ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง
กรอบแนวคิดในการวิจัย
Conceptualization
กระบวนการสร้างมโนทัศน์ที่เกิดตามธรรมชาติ
ใช้ความรู้จากทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาเขียน
ได้กรอบบแนวคิดเชิงทฤษฏี Theoretical framework
Theoretical framework
แสดงความเชื่อมโยงของตัวแปรตามหลักทฤษฎีที่มีอยู่
ครอบคลุมทุกตัวแปรที่เกี่ยข้อง
เขียนเป็น diagram
Conceptual framework
เลือกเขียนตัวแปรที่เกี่ยวกับงานวิจัยใช้คำบรรยายประกอบ
อธิบายถึงความสัมพันธ์ที่เกี่ยวข้องกัตัวแปรและเหตุผลที่ไม่เขียนครบทุกตัวแปร
การเขียน
กำหนดขอเขตงานวิจัย เปลี่ยนชื่อเรื่อง มีตัวแปรควบคุม ทำให้อยู่ใน inclusion criteria
วิธีการเขียน
สรุปความรู้และประเด็นที่สำคัญ
มีเกณฑ์ช่วยอ่าน เพื่อบอกความรู้ในเรื่องที่ทำ
ทบทวนเอกสาร วรรณกรรม ให้ครอบคลุมและทันสมัย
ข้อบกพร่อง
ใช้ theoretical concept มาเขียน
แสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
เขียนเป็นกระบวนการวิจัย
ทบทวนวรรณกรรมไม่ดีพอจะทำให้ออกความคิดเห็นไม่ได้
ตัวอย่างกรอบแนวคิดการวิจัย / ทฤษฎีต่างๆ
Bandura
ฟอยด์ ( Freud )
Wagner
ตัวอย่างการวิจัย
การวิจัยชาติพันธุ์วรรณนา ( Ethnographic study )
การวิจัยปรากฏการณ์
(Phenomenology study )
การวิจัยทฤษฎีฐานราก (Grounded theory )
งานวิจัยที่ควรรู้จัก
R2R ( routine of research )
PAR ( participatory action research )
R&D ( research and development )
Systemic review , meta-analysis , research synthesis
นางสาวอรณา สุทธิเชษฐ์ รุ่นที่ 36/2
เลขที่ 57 รหัสนักศึกษา 61200118