Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
พยาน - Coggle Diagram
พยาน
หลักเกณฑ์ว่าด้วยการรับฟังพยานหลักฐาน
แพ่ง
พยานหลักฐานที่ศาลรับฟังได้ ม.87 ปวิพ
ต้องมีหลักเกณฑ์ 2 ประการ
เกี่ยวกับประเด็นแห่งคดีหรือประเด้นข้อพิพาท
เป็นไปตามข้ออ้าง ข้อเถียง ข้อต่อสู้ คำให้การหรือคำคู่ความ
ได้ยื่นบัญชีระบุพยานตามม.88 + ส่งสำเนาพยานหลักฐานตามม.90
เว้นเเต่ศาลเห็นว่าไม่จำเป็นต้องยื่นเพื่อประโยชน์เเห่งความยุติธรรมในคดี
ในกรณีของหลักฐานที่สำคัญเเละเกี่ยวข้องกับประเด็นเเห่งคดี สามารถตัดสินชี้ขาดเป็นข้อเเพ้ชนะของคดีได้ โดยไม่ทำให้เกิดความได้เปรียบหรือเสียเปรียบ
พยานหลักฐานที่ต้องห้ามมิให้รับฟัง
ศาลสามารถมีดุลพินิจไม่รับฟัง
ประวิงเวลาให้ชักช้าหรือฟุ่มเฟือย
86 ว.2 ปวิพ
ฟุ่มเฟือย
มีหลักฐานมากพอที่จะรับฟังข้อเท็จจริงได้เเล้ว พยานหลักฐานที่ส่งมามากเกินความจำเป็น
ประวิงให้ชักช้า
ศาลเห็นว่าคู่ความประสงคืจะทำให้เกิดความล่าช้าในการพิจารณาคดี
การพิจารณาเป็นหน้าที่ของศาล
หากไม่เห็นด้วยก็ให้ศาลศาลจดไว้เเล้วค่อยใช้สิทธิอุทธรณ์ตาม ม.226 ปวิพ
พยานหลักฐานที่ไม่เกี่ยวกับประเด็น
ประเด็น
ประเด็นข้อเท็จจริงที่ยังมีข้อโต้เถียงอยู่ หรือเป็นประเด็นข้อพิพาทซึ่งเป็นปัญหาข้อเท็จจริงเท่านั้น
บทบัญญัติที่เกี่ยวข้อง
86 ว.2 87 118
ลักษณะของพยานที่เกี่ยวข้องกับประเด็น
พยานหลักฐานที่เเสดงถึงข้อเท็จจริงในประเด็นโดยตรง
เเสดงให้เห็นถึงข้อเท็จจริงที่คู่ความโต้เถียงอันเป็นเหตุให้เกิดข้อพิพาท เมื่อพิจารณาถึงความสัมพันธุ์ระหว่างข้อเท็จจริงที่พิพาทเเละพยานหลักฐานว่าไม่มีความเเตกต่างกันมากนัก
หากจำเลยปฏิเสธคำฟ้องของโจทก์โดยมีคำปฏิเสธมา ข้อเท็จจริงที่จำเลยอ้างเป็นเครื่องกำกับพยานหลักฐานที่จำเลยจำนำสืบได้ เเต่หากไม่ได้อ้างเหตุประกอบการปฏิเสธเเต่นำสืบพยานหลักฐาน พยานหลักฐานนนั้นต้องห้ามไม่ให้ศาลรับฟัง
พยานหลักฐานซึ่งเเสดงถึงข้อเท็จจริงที่เกี่ยวพันกับประเด็น
ข้อเท็จจริงซึ่งไม่ได้เกี่ยวกับเนื้อหาในประเด็นโดยตรง เเต่อาจชี้ให้เห็นได้ว่าข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นโดยตรงนั้นเกิดขึ้นจริงหรือไม่ ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยปริยาย
เป็นข้อเท็จจริงที่บุคคลทั่วไปเห็นว่าสามารถพิสูจน์ข้อเท็จจริงอีกอันหนึ่งซึ่งเป็นประเด้นโดยตรงได้
ไม่จำเป็นต้องกล่าวในคำฟ้องหรือคำให้การเพราะถือเป็นรายละเอียด เช่น การนำสืบที่มาของหนี้
พยานบอกเล่า (Hearsay)
ความหมาย 95/1
ข้อความหรือคำกล่าวซึ่งทำขึ้นนอกศาลที่กำลัง
พิจารณาคดีนี้อยู่
เช่น ในคดีเดียวกันเเต่คนละกระบวนการ ในศาลเดียวกันเเต่คนละคดี
เป็นข้อความหรือคำกล่าวที่บุคคลทำหรือเเสดงออกเพื่อสื่อความหมาย
ข้อความนั้นไม่ได้ถูกเสนอต่อศาล เเต่ถูกเเสดงขึ้นเพื่อพิสูจน์ว่าข้อเท็จจริงนั้นๆมีอยู่จริงเท่านั้น
หลักห้ามรับฟังพยานบอกเล่า
เหตุผล
ทำให้ฝ่ายตรงข้ามไม่สามารถซักค้านผู้บอกเล่าได้ + การซักค้านตัวพยานก็ไม่มีประโยชน์เท่าไหร่
เรื่องเล่าต่อๆกันมาอาจทำให้ข้อความคลาดเคลื่อน
เป็นการรับฟังพยานที่ไม่ได้มีการสาบานตน ไม่น่าเชื่อถือ (ปวิพ 112 113)
เป็นการทำให้คู่ความไม่เเสวงหาประจักษ์พยาน
ไม่ใช่พยานที่ดีที่สุด
เป็นการละเมิดสิทธฺของจำเลยที่จะได้เผชิญหน้ากับพยาน
เเนวทางที่ศาลไทยตีความหลักห้ามรับฟังพยานหลักฐาน
ศาลต้องไม่ยอมให้นำพยานเข้าสืบได้ตั้งเเต่ต้น + ศาลต้องสอบถามพยานว่าจะมาเบิกความในฐานะใด
ในทางปฏิบัติทำไม่ได้เพราะยุ่งยาก
ห้ามศาลนำพยานบอกเล่ามาประกอบการตัดสินใจเเละพิจารณาชั่งน้ำหนักพยาน ต้องพิจารณาเสมือนไม่มีพยานบอกเล่าปากนั้น
ไม่ได้ห้ามรับฟังโดยเด็กขาด ศาลมีดุลพินิจรับฟังได้เพียงเเต่มีน้ำหนักน้อยกว่าประจักษ์พยาน (ฎ.5785/2540)
95/1 ทำให้หลักในการรับฟังพยานบอกเล่าชัดเจนขึ้นเนื่องจากว่าศาลเป็นคนพิจารราว่าควรรับฟังพยานบอกเล่าหรือไ่ม่ หากมไ่มีเหตุผลสนับสนุนให้รับฟังศาลก็จะต้องปฏิเสธไม่รับฟังพยานบอกเล่านั้น
ข้อยกเว้นของหลักห้ามรับฟังพยานบอกเล่า
95(2) ตอนท้าย + 95/1 ว.2 ปวิพ
การรับฟังข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นพยานบอกเล่า
กรณีที่พยานบอกเล่านั้นน่าเชื่อถือว่าจะพิสูจน์ความจริงได้
ไม่สามารถนำประจักษ์พยานมาสืบในคดีได้ เเละมีเหตุสมควรที่จะรับฟังพยานบอกเล่า
ทางปฏิบัติของศาล
คำบอกเล่าที่เป็นคำรับของคู่ความฝ่ายตรงข้ามอันเป็นปรปักษ์ต่อประโยชน์ของผู้บอกเล่า
ex A ฟ้องเรียกเงินคืนจาก B โดยอ้าง Cเป็นพยานบอกเล่า C บอกว่า B เคยเล่าให้ตัวเองฟังว่ากูเงินจาก A >> C เป็นพยานบอกเล่าที่รับฟังได้ เพราะไม่ทำให้ B เสียเปรียบเนื่องจาก B ยังสามารถชี้เเจงได้
คำบอกเล่าของคนตาย
ที่ได้บอกว่าใครทำร้ายหรือฆ่าตน มักนำมาใช้ในคดีอาญา
ข้อความในเอกสารมหาชน* เอกสารมหาชน =
ทำขึ้นโดยเจ้าพนักงานที่มีอำนาจทำหรือรับรองเอกสารนั้น + เป็นเรื่องที่พากพิงถึงประชาชนไม่ว่าทางใดทางหนึ่ง + ประชาชนสามารถตรวจสอบเเละอ้างอิงเอกสารได้** เช่นทะเบียนสมรส โฉนดที่ดิน
ข้อเท็จจริงที่เล่าลือกันทั่วไป
คำพิพากษาในเรื่องก่อน
มีความผูกพันกับข้อเท็จจริงปัจจุบันได้ในบางกรณี ปวิพ 145 ปอ 46
คำพยานในคดีก่อน
เพราะเป็นพยานที่ได้เบิกความต่อหน้าศาลเเละได้มีการสาบานตนเเล้ว
คำให้การของพยานในครั้งก่อน
กรณีเป็นคดีเดียวกันเเต่ให้การไม่เหมือนกันในเเต่ละกระบวนการ
ต้องเป็นการนำสืบเพื่อให้ศาลเชื่อว่าข้อเท็จได้เกิดขึ้นตามที่พยานบอกเล่าไว้ในครั้งก่อน
หากเเค่นำสืบว่าให้การไม่เหมือนกัน ไม่ถือว่าเป็นพยานบอกเล่า
พยานหลักฐานที่ต้องห้ามไม่ให้
รับฟัง
โดยกฎหมาย
พยานซึ่งไม่สามารถเข้าใจเเละตอบคำถามได้
เป็นปัญหาข้อเท็จจริงที่ขึ้นอยุ่กับดุลพินิจของศาลโดยเเท้ หากศาลเห้นว่าไม่สามารถเข้าใจเเละตอบคำถามได้เเละไม่ต้องการให้นำสืบ ศาลจะต้องจดเหตุผลไว้เเล้วรวมเข้าสำนวนตามมาตรา 95
เอกสารไม่ปิดอากรเเสตมป์
การปิดอากรทำที่ต้นฉบับเท่านั้น ไม่รวมถึงสำเนาเอกสาร
การฝ่าฝืนมีผลคือ ศาลไม่อาจรับฟังเป็นพยานหลักฐานได้ เเต่หากคดีนั้นไม่มีความจำเป้นต้องอ้างเอกสารนั้นเป็นพยาน ศาลก็สามารถพิพากษาได้โดยไม่ต้องคำนึงถึงเอกสารนั้น
ไม่จำเป็นต้องขีดฆ่าในขณะที่มีการทำตราสาร เมื่อปิดเเละขีดฆ่าเเล้วในเวลาฟ้องคดีก็รับฟังเป็นพยานหลักฐานได้
ต้องปิดให้ครบตามจำนวนที่กฎหมายกำหนด + มีการขีดฆ่าเเละลงวันที่
เเต่เเม้จะขีดฆ่าโดยไม่ได้ลงวันที่ศาลก็บอกว่าเป็นพยานหลักฐานที่รับฟังได้
ต้องเป้นตราสารที่ระบุไว้ในบัญชีท้ายประมวลรัษฎากร
ใช้บังคับเฉพาะคดีเเพ่งเท่านั้น
การสืบพยานบุคคลแทนหรือแก้ไขพยานเอกสาร
94 ปวิพ
เนื้อหาสาระของข้อห้าม
ห้ามนำพยานบุคคลมาสืบเเทนพยานเอกสารเมื่อไม่สามารถนำพยานเอกสารมาสืบได้
เเต่หากเป็นการสืบเพื่อยืนยันความจริงตามเอกสารสามารถทำได้
ห้ามนำพยานบุคคลมาสืบข้ออ้างเมื่อได้นำเอดสารมาเเสดงเเล้วยังมีข้อความเพิ่มเติม ตัดทอน เเก้ไข หรือเปลี่ยนเเปลง
กฎหมายต้องการให้เอกสารพิสูจน์ตัวของมันเอง
กรณีที่ถือว่าไม่เข้าข้อห้ามตาม ม.94
การนำสืบพยานบุคคลเพื่อเสดงที่มาเเห่งหนี้ตามเอกสาร (522/2505)
การนำสืบพยานบุคคลเพื่อเเสดงถึงข้อตกลงระหว่างคู่กรณที่เกิดขึ้นภายหลัง ที่สามารถเเยกออกเป็นเอกเทศต่างหากจากนิติกรรมเดิมได้+ไมีมีกฎหมายบังคับให้ต้องนำพยานเอกสารมาเเสดง เช่น การตกลงเพิ่มข้อสัญญาว่าด้วยเบี้ยปรับหากมีการผิดสัญญา
การนำสืบพยานบุคคลเพื่อเเสดงถึงฐานะของบุคคลที่ปรากฎอยู่ในเอกสาร เช่นการเป็นตัวการตัวเเทน (น.99)
การนำสืบพยานบุคคลมาสืบอธิบายหรือขยายข้อความที่มีอยู่เเล้วในเอกสารให้ได้ความชัดเจนขึ้น
ข้อยกเว้นของข้อห้าม 94 ว.2
ต้นฉบับเอกสารไม่สามารนำมาได้เนื่องจากสูญหายหรือถูกทำลายโดยพฤติการณ์ที่ผู้อ้างไม่ต้องรับผิดตาม ม.93(2)
นำพยานบุคคลหรือพยานวัตถึอื่นมาสืบเเทนได้หากศาลอนุญาต
เป็นการสืบเเทนพยานเอกสาร
ไม่ใช่การสืบเเก้ไข ไม่ต้องห้ามตาม ม.94
การสืบทำลายเอกสาร
ในกรณีที่เอกสารนั้น
เป็นเอกสารปลอมทั้งฉบับ/บางส่วน
ปลอม
ทำขึ้นใหม่เพื่อให้ผู้อื่นหลงเชื่อว่าเป็นเอกสารเเท้จริง
ปลอมโดยเเก้ไขเพิ่มเติมหรือตัดท้อนข้อความจริง
ลงลายมือชื่อปลอมเเละประทับตราปลอมในเอกสารที่เขียนข้อความไว้เเล้ว
กรอกข้อความลงในกระดาษที่มีลายมืชื่อบุคคลอื่น โดยไม่ได้รับความยินยอมของเจ้าของลายมือชื่อ
การนำสืบว่าหนี้หรือสัญญานั้นไม่สมบูรณ์
(การสืบหักล้าง)
มูลหนี้ไม่อาจบังคับได้ตามกฎหมาย
ex เรียกดอกเบี้ยเกินอัตราที่กฎหมายกำหนด
มูลหนี้ไม่สมบูรณ์
ex ไม่ได้มีหนี้กันจริงๆ
กระบวนการของการเกิดนิติกรรมนั้นยังไม่สมบูรณ์
ex ทำสัญญายืมเงินกันจริง เเต่ผู้ให้กูยังไมไ่ด้ให้เงิน
กรณีที่อีกฝ่ายตีความหมายผิด
นำพยานบุคคลมาสืบเพื่อให้ได้ความชัดเจน
ขอบเขตของข้อห้าม
ต้องเป็นกรณีที่กฎหมายบังคับให้ต้องนำ
เอกสารมาเเสดง
ข้อเท็จจริงในเรื่องนั้นจะต้องเเสดงด้วยพยานเอกสารเท่านั้น
นิติกรรมที่มีกฎหมายกำหนดว่า
ต้องทำตามแบบ
(นิติกรรมที่ต้องทำเป็นหนังสือ +นิติกรรมที่ต้องทำเป็นหนังสือเเละจดทะเบียต่อพนักงานเจ้าหน้าที่) /
ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ
/
นิติกรรมที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือลงลายมือชื่อผู้รับผิดมิฉะนั้นจะฟ้องบังคับคดีไม่ได้
ต้องเป็นกรณีที่้ต้องนำเอกสารมาแสดงข้อเท็จจริงเท่านั้น
จะนำพยานอื่นมาสืบเเทนไม่ได้ + ถ้ามีเอกสารเป็นหลักฐานไว้จะนำเพื่อสืบเปลี่ยนเเปลง/เพิ่มเติมข้อความนอกเหนือจากที่เเสดงในเอกสารไม่ได้
กรณีที่กฎหมายให้เลือกได้ ว่าจะทำเป็นหนังสือหรืออย่างอื่น
ต้องพิจารณาเจตนาเเต่ของคู่กรณีในตอนทำนิติกรรมว่าประสงค์จะให้นิติกรรมเกิดขึ้นโดยมีหลักฐานเป็นหนังสือหรือไม่ ถ้าไม่ใช่ก็ไม่ตกอยู่ภายใต้ ม.94 (3945/2535 ตอนเเรกทำสัญญาจะซื้อจะขายมีการวางมัดจำเเล้ว ต่อมามีการทำเป็นหนังสืออีก)
การรับสภาพหนี้ 193/14
เเม้กฎหมายจะเขียนให้ทำได้หลายวิธี เเต่ไม่ใช่กรณีที่ถ้าไม่ทำอย่างใดอย่างหนึ่งจะฟ้องร้องเป็นคดีไม่ได้ ไม่ใช่กรณีตาม ม.94
รวมถึงกรณีอื่นๆ เช่น
การชำระหนี้ด้วยทรัพย์อย่างอื่นตาม ปพพ 653
วางทรัพย์/เช็ค/เงินโอน ไม่ใช่การชำระหนี้ด้วยเงินที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือหรือมีการเพิกถอน
สัญญาเช่ามีค่าตอบเเทนพิเศษเเตกต่างจากสัญญาเช่าปกติ
อาญา
พยานหลักฐานที่ศาลรับฟังได้
ม.226
หากเป็นพยานที่น่าจะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยมีผิดหรือบริสุทธิ์ ศาลย่อมรับฟังได้ทั้งสิ้น ยกเว้นในกรณที่มีกฎหมายบัญญัติไว้อย่างชัดเเจ้ง
หลักทั่วไป
ไม่มีกฎหมายห้าม ย่อมกระทำได้
หากไม่มีกฎหมายห้ามไม่ให้รับฟังพยานหลักฐานชนิดใดเเล้ว ศาลย่อมมีอำนาจรับฟังพยานหลักฐานได้อย่างเต็มที่ เเต่หลักฐานนั้นต้องเกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่จะพิสูจน์ได้ว่าจำเลยมีผิดหรือบริสุทธิ์
226/2
พยานหลักฐานที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดครั้งอื่นๆ หรือความประพฤติในทางเสื่อมเสียของจำเลยเป็นพยานหลักฐานที่ไม่เกี่ยวกับประเด้นเเห่งคดีห้ามไม่ให้นำสืบตาม 87(1) ปวิอ + 15 ปวิพ
เเต่
ในกรณีที่ศาลเห็นว่าจะเป็นประโยชน์ในการวินิจฉัยความผิด ศาลสามารถรับฟังได้
226/4
ห้ามมิให้จำเลยในคดีความผิดเกี่ยวกับเพศ นำสืบด้วยพยานหลักฐานหรือคำถามค้านเกี่ยวกับพฤติกรรมทางเพศของผู้เสียหายกับบุคคลอื่นนอกจากจำเลย
เว้นเเต่
ในกรณีที่ศาลอนุญาตเพื่อก่อให้เกิดความยุติธรรมในการพิจารณาพิพากษาคดี
พยานหลักฐานที่ต้องห้ามมิให้รับฟัง
ห้ามเหมือนกับคดีเเพ่ง
ฟุ่มเฟือยหรือประวิงให้ชักช้า
ไม่เกี่ยวกับประเด็น
ข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดเกี่ยวกับเวลา สถานที่ซึ่งเกิดความผิด การกระทำ บุคคล ตลอดจนถ้อยคำที่เกี่ยวข้องกับการหมิ่นประมาท
เป็นข้อเท็จจริงที่เกี่ยวกับประเด้นโดยตรง
สามารรถนำสืบได้
มูลเหตุชักจูงใจ โอกาสในการกระทำผิด สภาพเเวดล้อมต่างๆ ความประพฤติของจำเลย
เป็นข้อเท็จจริงที่เกี่ยวเนื่องกับประเด็นโดยตรงเช่นกัน ถือว่าเป็นข้อเท็จจริงที่เกี่ยวพันกับคดี
ไม่สามารถเข้าใจเเละตอบคำถามได้ 95 ปวิพ
พยานบอกเล่า
บัญญัติ
226/3
เพื่อให้มีเเนวทางไปในทางเดียวกับ
95/1 ปวิพ
มีทั้งสวนของการอธิบายว่าอะไรเป็นพยานบอกเล่า + หลักการห้ามรับฟัง + ข้อยกเว้น
226/1
เปิดฌอกาสให้คู่ความการไม่รับฟังพยานบอกเล่าของศาล โดยกำหนดให้ศาลต้องบันทึกรายละเอียดของเหตุที่ห้ามไม่ให้รับฟัง + ข้อคัดค้าของคู่่ความไว้เพื่อให้สามารถอ้างอิงในชั้นอุทธรณ์ได้
226/5
บัญญัติเพือ่แก้ไขปัญหาที่ไม่อาจนำพยานบุคคลมาเบิกความในชั้นศาลได้ เมื่อศาลเห็นว่าจำเป็น/ มีเหตุอันสมควร ให้รับฟังคำเบิกความในชั้นไต่สวนมุลฟ้อง หรือคำเบิกความของพยานที่ให้ไว้ในคดีอื่นได้
ยกเว้นหลักพยานหลักฐานโดยตรง
ห้ามเฉพาะคดีอาญา
เกิดขึ้น หรือได้มาโดยไม่ชอบ
The fruit of a poisonous tree doctrine
การได้มาซึ่งพยานหลักฐานชิ้นแรกโดยไม่ชอบเป็นต้นไม้พิษ พยานหลักฐานอื่นซึ่งได้มาในภายหลังเป็นผลไม้ของต้นไม้ผิดต้องห้ามไม่ให้รับฟังด้วย
ในปวิอ 226 สามารถเเยกออกได้เป็น 3 กรณี
ได้มาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย
ได้แก่ พยานหลักฐานที่ได้มานอกเหนือจากการได้มาโดยสมัครใจหรือจากการล่อให้กระทำความผิด
ได้มาโดยมีการปฏิบัติฝ่าฝืนบทบัญญัติของกฎหมายหรือไม่เป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติไว้
5 more items...
เกิดจากการล่อให้กระทำผิด
กรณีการล่อซื้อ
การส่งสายลับไปล่อซ้อของผิดกฎหมายจากผู้ที่ขายอยู่เเล้ว ศาลตีความไปได้ว่า
เป็นวิธีเเสวงหาพยานหลักฐานเพื่อพิสุจน์ความผิดที่ผู้นั้นมีเจตนากระทำความผิดอยู่ก่อนเเล้ว ไม่ต้องห้ามไม่ให้รับฟังพยานหลักฐาน
ถ้าไม่ใช่การล่อซื้อ เเต่เป็นการ
ล่อให้กระทำความผิด
โดยที่ผู้นั้นไม่มีเจตนากระทำความผิดมาก่อน พยานหลักฐานที่ได้มานั้นเป็นพยานหลักฐานที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย พยานหลักฐานไม่อาจรับฟังได้ เช่น การจ้างให้ทำของละเมิดลิขสิทธิ์โดยที่เขาไม่เคยทำมาก่อน
ไม่ได้เกิดขึ้นโดยสมัครใจ
เกิดจากการจูงใจ การให้คำมั่น ขู่เข็ญ หลอกลวง หรือโดยมิชอบประการอื่น
การยอมรับสารภาพต่อพนักงานสอบสวนเพราะพงส.รับปากว่าจะไม่เอาความหรือเเจ้งโทษเบา ขัดต่อ 226 + 135
ขู่ว่าหากไม่รับสารภาพว่าข่มขืน จะรีดอสุจิออกมาเทียบ เป็นวิธีการที่เจ็บมากจำเลยเลยยอมสารภาพ
หากบอกว่าให้สารภาพเสียเพราะคดีนี้พยานหลักฐานรัดกุมเเล้ว
ถ้าเป็นจริงตามที่เจ้าพนักงานบอก ไม่เป็นการข่มขู่
เเต่ถ้าไม่จริงตามนั้น เป็นการข่มขู่
กรณีที่พนักงานสอบสวนให้ข้อมูลคลาดเคลื่อนกับจำเลยโดยไม่รู้ว่าเป็นความจริง
ไม่ถือว่าเป็นการหลอกลวงหรือจูงใจให้จำเลยสารภาพ ไม่ต้องห้ามตาม 135 + 226
หลักห้ามโจทก์อ้างจำเลยเป็นพยาน
232 ปวิอ
ในคดีอาญาจำเลยมีเอกสิทธิ์ที่จะไม่ให้การปรักกรำตนเอง ซึ่งทำให้ตนเองอาจต้องถูกฟ้องคดีอาญา
โจทก์ยังสามารถอ้างคู่สมรส บุตรธิดา หรือญาติของจำเลยมาเป้นพยานได้ รวมถึงอาจอ้างผู้ร่วมกระทำความผิดกับจำเลยที่ไม่ได้ถูกฟ้องเป็นคดีความได้ด้วย
เเนวความเห็นเกี่ยวกับ 232
เป็นกรณีที่โจท์ห้ามอ้างตัวจำเลยเป็นพยานเท่านั้้น หากจำเลยสมัครใจเป้นพยานเเก่โจทก์เเล้ว ศาลย่อมนำมาใช่ได้ไม่ว่าจะเป็นคุณหรือเป็นโทษกับตัวจำเลยเอง เนื่องจากมี 233 ที่สนับสนุนเเนวคิดให้จำเลยสามารถอ้างตัวเองเป็นพยานได้ + ไม่มีข้อห้ามในกรณีนี้
233 วรรค 2
สอดคล้องกับเเนวคิดนี้ สามารถนำคำเบิกความของจำเลยมาใช้ในฐานะพยานเพื่อยันเเก่จำเลยได้ >> คำเบิดความของจำเลยอาจถูกใช้เป็นโทษกับจำเลยเอง
การห้ามตามบทบัญญัติในกรณีนี้หมายความรวมถึงการห้ามโจทก์อ้างคำให้การของจำเลยที่ตอบคำถามค้านของโจทก์เป็นผลร้ายต่อตัวของจำเลยด้วย
คำรับสารภาพของผู้ถูกจับในชั้นจับกุมหรือรับมอบตัวผู้ถูกจับ
84 ว.4
จะรับฟังเป็นพยานหลักฐานไม่ได้ เเม้จะได้เเจ้งสิทธิให้ผู้ถูกจับทราบเเล้วก็ตาม เป็นบทห้ามมิให้รับฟังเป็นพยานหลักฐานโดยเด็ดขาด
ถ้อยคำที่ให้ผู้ถูกจับให้ไว้โดยที่ยังไม่มีการเเจ้งสิทธิ
ให้ต่อเจ้าพนักงานผู้จับในชั้นจับกุมหรือ
รับมอบตัวผู้ถูกจับ
84 วรรค4
รับฟังได้หากได้มีการเเจ้งสิทธิเเล้ว
ให้ต่อพนักงานสอบสวนในชั้นสอบสวน
รับฟังได้ต่อเมื่อมีการเเจ้งสิทธิตาม
134/4 + 7/1
ปฏิบัติตาม
134/1 -2 -3
เเล้ว
วิธีการนำสืบพยานหลักฐานทั่วไป
แพ่ง
การสืบพยานหลักฐานตามขั้นตอน
หลักทั่วไป
เปิดเผย
การสืบพยานต้องเปิดโอกาสให้สาธารณะชนไม่ว่าเกี่ยวข้องหรือไม่เข้าร่วมรับฟังการพิจารณาเเละการสืบพยานได้ เป็นไปตาม ม.36 ว.1 ปวิพ
ข้อยกเว้น
เพื่อคุ้มครองสาธารณะประโยชน์เเละความเหมาะสม ศาลอาจมีคำสั่งได้ 2 ลักษณะคือ
ห้ามไม่ให้สาธารณะชนเข้าฟังการพิจารณาทั้งหมดหรือบางส่วน รวมทั้งห้ามไม่ให้สาธารณะชนหรือสื่อมวลชนเผยเเพร่ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ต่างๆที่เกี่ยวข้องกับคดี
อนุญาติให้สื่อมวลชนเเละสาธารณะชนเข้ารับชมการพิจารณาได้เเต่ห้ามไม่ให้มีการโฆษณาข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์ต่างๆที่ได้ทราบมาจากการสืบ
ต่อหน้าคู่ความ
โดยหลัก
การสืบพยานควรทำต่อหน้าคู่ความทุกฝ่าย
ข้อยกเว้น
เมื่อศาลได้ขับไล่คู่ความฝ่ายใดออกไปเสียจากบริเวณศาลเนื่องจากประพฤติตัวไม่เหมาะสม ตาม 36 ว.1(1)
ศาลได้สั่งให้เดินเผชิญสืบ หรือมีการส่งประเด็นไปสืบ ณ ศาลอื่นเเละคู่ความไม่ได้ตามไปสืบประเด็น
คู่ความขาดนัดยื่นคำให้การ หรือขาดนัดพิจารณาเเละมีเหตุจำเป็นต้องสืบพยานไปฝ่ายเดียว
คู่ความทราบวันนัดสืบพยานครั้งต่อมาเเล้ว เเต่ไม่มาศาล ถือว่าคู่ความไม่ติดใจสืบพยานศาลพิจารณาคดีลับหลังได้
ใช้ภาษาไทย
ม.46 ปวิพ
หากพยานหลักฐานอยู่ในรูปของ
ภาษาต่างประเทศ
ก็ต้องทำการแปล หรือใช้ล่ามทำคำแปลในชั้นเเรก จากนั้นให้คู่ความฝ่ายตรงข้ามหาล่ามมาตรวจสอบการเเปลอีกครั้งหนึ่ง
ข้อยกเว้น
คดีในศาลทรัพย์สินทางปัญญา ศาลอาจอนุญาตให้นำสืบเอกสารต่างประเทศโดยไม่ต้องแปลก็ได้ + เเม้มีการเเปลศาลก็มีอำนาจตรวจสอบความถูกต้องได้เอง
คำแปลเอกสารภาษาต่างประเทศเเละตัวล่าม ไม่ใช่พยานหลักฐาน ผลทางกฎหมายจึงต่างออกไป
คำแปลเเละตัวล่ามไม่ต้องระบุไว้ในบัญชีระบุพยาน เเต่ตัวเอกสารที่เป้นภาษาต่างประเทศต้องทำการระบุไว้
การส่งสำเนานั้น ไม่ต้องส่งสำเนาคำแปลเอกสาร เพียงเเต่ส่งสำเนาเอกสารภาษาต่างประเทศเท่านั้น (การส่งคำแปลไปด้วยเป็นเพียงเรื่องที่ควรทำเท่านั้น)
คำเเปลเเละล่ามไม่ใช่พยานหลักฐานดังนั้นคู่ความทุกฝ่ายมีหน้าที่ทำให้ศาลได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง หากฝ่ายใดเห็นว่าไม่ถูกต้องก็มีสิทธิเเละหน้าที่จะต้องทักท้วงเเละแก้ไขให้ถูกก่อนศาลมีคำพิพากษา
ตามขั้นตอนเเละกรอบเวลาตามที่กฎหมายเเละศาลกำหนด
เว้นเเต่กรณีที่กฎหมายกำหนดยกเว้นไว้อย่างชัดเจน เช่นกรณีการสืบพยานล่วงหน้า ตาม ม.101
ต้องทำในศาล
ศาลในที่นี้คือศาลเจ้าของสำนวนคดีเรื่องนั้นตาม ม.36 ว.1 ปวิพ ใช้กับทั้งคดีเเพ่งเเละคดีอาญา
การยื่นบัญชีระบุพยาน
ม.88
หลักเกณฑ์
การยื่นบัญชีระบุพยานครั้งเเรก
ต้องยื่นก่อนวันนัดสืบพยานไม่น้อยกว่า 7 วัน
เเต่วิธีการนับนับแบบ 7 วันเต็ม
ดังนั้นเวลานับ
วันนัดสืบพยาน - 8 วัน ถ้าตรงกับวันหยุดราชการก็ต้องลงก่อนวันหยุดนั้น
ex วันนัดสืบพยานวันที่ 15 ต้องยื่นวันที่ 7 เเต่ถ้าวันที่ 7 เป็นวันหยุดราชการก็ต้องยื่นในวันที่ 6
ต้องยื่นพร้อมสำเนาบัญชีระบุพยานตามจำนวนคู่ความ
หากไม่ยื่นครั้งเเรกจะขอยื่นเพิ่มเติมตาม
วรรค 2
ไม่ได้
การยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม
หากต้องการจะยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมต้องทำเป็นคำเเถลงต่อศาล + ยื่นบัญชีระบุบพยานเพิ่มเติมภายใน 15 วันนับจากวันนัดสืบพยานวันเเรก
ไม่จำเป็นต้องเเสดงเหตุผลประกอบเพราะเป็นสิทธิของคู่ความ
การนับเวลาไม่มีกำหนดไว้เป็นพิเศษเป็นไปตาม 193/30
วิธีนับคือ
วันสืบพยาน+15วัน ถ้าเป็นวันสุดท้ายเป็นวันหยุดก็ได้เวลาเพิ่ม
การยื่นบัญชีระบุพยานล่วงกำหนดปกติ
กรณี
ได้ยื่นบัญชีระบุพยานไว้เเล้ว เเละประสงค์ที่จะยื่นเพิ่มเติมเเต่เลยกำหนดเวลา 15 วันเเล้ว
ยังไม่เคยื่นบัญชีระบุพยานไว้เลย
ต้องทำเป็นคำร้อง+เเจ้งเหตุผลอันสมควรเเก่ศาล ก่อนศาลมีคำพิพากษา
เหตุผล เช่นว่า ตนไม่สามารถ ทราบได้ว่าต้องนำพยานหลักฐานบางอย่างมาสืบเพื่อประโยชน์ ของตน หรือไม่ทราบว่าพยานหลักฐานบางอย่างได้มีอยู่ หรือมี เหตุอันสมควรอื่นใด
ถ้าศาลเห็นว่าเหตุผลไม่เหมาะสม อาจไม่อนุญาตก็ได้
เมื่อไม่อนุญาตโดยหลักย่อททำให้พยานนั้นไม่อาจรับฟังได้ตามมาตรา 87 (2) **เเต่ศาลอาจรับฟังได้หากเห็นว่าเป้นไปเพื่อประโยชน์ในความยุติธรรมเเห่งคดี
สภาพบังคับหากมีการฝ่าฝืน
พยานหลักฐานที่ไม่ได้ระบุในบัญชีระบุพยาน
ไม่อาจรับฟังได้
ตาม
87(2)
เเต่มีข้อยกเว้นในกรณีที่หลักฐานนั้นเป้นหลักฐานที่เกี่ยวกับประเด็นสำคัญในคดีเเละศาลเห็นว่าควรรับฟังเพื่อประโยชน์เเห่งความยุติธรรม
ประโยชน์เเห่งความยุติธรรม
ในทางปฏิบัติ รวมถึงการที่คู่ความตกลงยอมรับฟังพยานหลักฐานนั้น เเละในกรณีที่ไม่ได้มีการคัดค้านเมื่อนำสืบพยานหลักฐานที่ไม่ได้ระบุไว้ในบัญชีระบุพยานด้วย(เป็นการรับกันโดยปริยาย)
ในกรณีเช่นนี้พยานเหล่านั้นรับฟังได้ คู่ความจะยกความที่ไม่ได้ระบุในบัญชรีระบุพยานขึ้นอ้างในภายหลังไม่ได้
ข้อยกเว้น
ศาลอนุญาตตาม 87(2)
การสืบพยานในการไต่สวนคำร้องของคู่ความ เนื่องจากไม่ใช่การสืบพยานตามประเด็นข้อพิพาท
เอกสารที่คู่ความได้เเนบมาในคำคู่ความ(คำฟ้องหรือคำให้การ) เเล้ว
การยื่นเอกสารประกอบคำถามค้าน
พยานหลักฐานที่ไม่ใช่พยานหลักฐานโดยตรง เช่น คำแปลเอกสาร คำร้อง คำขอ คำเเถลงของคู่ความ
ข้อยกเว้นการสืบพยานหลักฐานตามขั้นตอน
การเดินเผชิญสืบ 102 ว.1
เป็นข้อยกเว้นของหลักที่ว่าการสืบพยานต้องทำในศาล
คือ การที่ศาลออกไปสืบพยานนอกศาล
เเต่จะสืบนอกเขตอำนาจศาลไม่ได้
อาจเกิดได้ 3 กรณี
กรณีพยานที่ศาลไม่มีอำนาจออกหมายเรียก เช่น กษัตริย์ ราชินี ฯลฯ พระภอกษุเเละสามเณร ผู็ได้รับเอกสิทธิ์เเละความคุ้มกัน
108
กรณีพยานวัตถุที่โดยสภานพไม่สามารถนำมาสืบที่ศาลได้ตาม
128
ศาลไปดูสถานที่เกิดเหตุประกอบคำเบิกความของพยานตาม
107
การส่งประเด็นไปสืบ 102 ว.2
ให้ผู้พิพากษาที่รับมอบ หรือศาลที่ได้รับแต่งตั้งนั้นมีอำนาจ และหน้าที่เช่นเดียวกับศาลที่พิจารณาคดีรวมทั้งอำนาจที่จะมอบให้ ผู้พิพากษาคนใดคนหนึ่งในศาลนั้น หรือตั้งศาลอื่นให้ทำการสืบพยาน หลักฐานแทนต่อไปด้วย
ศาลที่ได้รับเเต่งตั้งต้องเเจ้งวันกำหนดสืบพยานให้คู่ความทราบไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันสืบพยาน
เมื่อสืบพยานเสร็จสินก็ต้อง
ส่งประเด็นกลับ
103/1
อาจแต่งตั้ง
เจ้าพนักงานศาลหรือเจ้าพนักงานอื่น
ซึ่ง
คู่ความเห็นชอบ
ให้ทำการสืบพยานหลักฐานส่วนใดส่วนหนึ่ง ที่จะต้องกระทำนอกศาลแทนได้
การสืบพยานหลักฐานล่วงหน้า 101
ผู้ขอ
บุคคลใด
บุคคลที่ยังไม่ได้เข้ามาเป็นคู่ความเเละได้ +ได้เเสดงเหตุผลที่ทำให้เห็นความจำเป็นอย่างยิ่งที่ศาลจะต้องสืบพยานไว้ก่อน เช่นการเเสดงให้เห็นว่ามีข้อพิพาทกับบุคคลใดหรือเเสดงให้เห็นความจำเป็นที่จะต้องใช้สิทธิทางศาล
คู่ความ
เข้ามาเป็นคู่ความในคดีเเล้ว
ชนิดของพยานหลักฐาน
พยานหลักฐานทุกชนิด
เหตุที่จะขอ
พยานจะสูญหาย
เป็นการยากที่จะนำพยานมาสืบในภายหลัง
วิธีการดำเนินการของศาล
ว.2
เมื่อศาลได้รับคำขอเช่นว่านั้น
ให้ศาลหมายเรียกผู้ขอและคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งหรือบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องมายังศาล และเมื่อได้ฟังบุคคลเหล่านั้นแล้วให้ศาลสั่งคำขอตามที่เห็นสมควร (คำสั่ง 2 ฝ่าย)
ถ้าศาลสั่งอนุญาต ตามคำขอแล้วให้สืบพยานไปตามที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายนี้ ส่วนรายงานและเอกสารอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการนั้นให้ศาลเก็บรักษาไว้
คำสั่งให้สืบพยานล่วงหน้าฝ่ายเดียว
ว.3
ในกรณีที่
คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งหรือบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องไม่มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรและยังมิได้เข้ามาในคดี
นั้น เมื่อศาลได้รับคำขอตามวรรคหนึ่ง
ให้ศาลสั่งคำขอนั้นอย่างคำขออันอาจทำได้แต่ฝ่ายเดียว
ถ้าศาลสั่งอนุญาตตามคำขอแล้ว ให้สืบพยานไปฝ่ายเดียว
101/1
ในกรณีที่มีเหตุฉุกเฉินซึ่งจำเป็นต้องสืบพยานหลักฐานใดเป็นการเร่งด่วน และไม่สามารถแจ้งให้คู่ความฝ่ายอื่นทราบก่อนได้
ต้องยื่นคำร้องบรรยายข้อเท็จจริงว่าทำไมถึงเร่งด่วนเพื่อใหศาลตรวจสอบตาม 101/1 ว.2
เป็นข้อยกเว้นหลักกการพิจาณาต้องเป็นไปตามขั้นตอนเเละกรอบเวลาตามที่กฎหมายเเละศาลกำหนด
การสืบพยานตามวิธีที่คู่ความตกลงกัน 103/2
คู่ความฝ่ายที่เกี่ยวข้องอาจ
ร้องขอต่อศาลให้ดำเนินการสืบพยานหลักฐานไปตามวิธีการที่คู่ความตกลงกัน
ถ้าศาลเห็นสมควรเพื่อให้การสืบพยานหลักฐานเป็นไปโดยสะดวกรวดเร็ว และเที่ยงธรรม ศาลจะอนุญาตตามคำร้องขอนั้นก็ได้
เว้นแต่การสืบพยานหลักฐานนั้นจะเป็นการไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือขัดต่อความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน
103/3
พื่อให้การสืบพยานหลักฐานเป็นไปโดยสะดวก รวดเร็ว และเที่ยงธรรม ประธานศาลฎีกาโดยความเห็นชอบของที่ประชุมใหญ่ของศาลฎีกามีอำนาจออกข้อกำหนดใด ๆ เพิ่มเติมเกี่ยวกับแนวทางการนำสืบพยานหลักฐานได้ แต่ต้องไม่ขัดหรือแย้งกับบทบัญญัติในกฎหมาย
ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาตามวรรคหนึ่ง เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ให้ใช้บังคับได้
อาญา
การสืบพยานหลักฐานตามขั้นตอน
หลักเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติอย่างเคร่งครัดเพื่อคุ้มครองสิทธิของจำเลย
ต้องกระทำในศาล
เป็นไปตาม
ม.36 ปวิพ
ศาลหมายถึง
ศาลเจ้าของสำนวน
ต้องกระทำโดยเปิดเผยต่อหน้าจำเลย
เปิดเผย
ต้องเปิดเผยให้สาธารณะได้เข้าฟัง เเต่ในขณะเดียวกันหายการพิจารณาคดีโดยเปิดเผยนั้นมีลักษณะ
เป็นการประจานจำเลย
หรือ
จะทำให้จำเลยถูกปฏิบัติอย่างผู้กระทำผิด
หรือ
มีเหตุจำเป็นอื่น
เช่นเป็นเรื่องของความมั่นคงของประเทศ
ศาลจะไม่พิจารณาคดีโดยเปิดเผยก็ได้
การพิจารณาคดีโดยลับ
นอกจากจะทำให้สาธารณะชนไม่อาจเข้าฟังได้เเล้ว ยังทำให้บุคคลที่จะอยู่ในห้องพิจารณาต้องเป็นบุคคลตามที่กฎหมายกำหนดเท่านั้น 177 178
กระทำต่อหน้าจำเลย
การพิจารณาลับหลังจำเลยโดยหลักจะนำมาใช้ยันกับจำเลยไม่ได้
ข้อยกเว้นที่สามารถพิจารณาคดีลับหลังจำเลยได้
172 ทวิ (1)
คดีมีอัตราโทษอย่างสูงไม่เกิน 10 ปี/มีโทษปรับอย่างเดียว + จำเลยมีทนาย + ศาลอนุญาตให้ไม่ต้องมาฟังการพิจารณาคดีก็ได้
172 ทวิ (2)
มีจำเลยหลายคน + ศาลเห็นตามคำขอโจทก์ให้สืบพยานจำเลยคนหนึ่งลับหลังจำเลยคนอื่นเนื่องจากเห็นว่าเป็นการกระที่ไม่เกี่ยวกับจำเลยคนใด
172 ทวิ วรรค2
ห้ามศาลมิให้รับฟังการสืบพยานลับหลังจำเลยมาเป็นผลเสียหายแก่จำเลยคนนั้น
172 ทวิ (2)
มีจำเลยหลายคน + ศาลเห็น
ไม่มีใครร้องขอ
ให้สืบพยานจำเลยคนหนึ่งลับหลังจำเลยคนอื่นเนื่องจากเห็นว่าเป็นการกระที่ไม่เกี่ยวกับจำเลยคนใด
172 ทวิ วรรค2
180
จำเลยขัดขวางการพิจารณาของศาล ศาลไล่ออกนอกห้องพิจารณา
203
การสืบพยานในชั้นอุทธรณ์หรือฎีกาที่ไม่ใช่วันนัดพร้อม
230
เดินเผชิญสืบหรือส่งประเด็นไปสืบยังศาลอื่น
55/1 173/2 237ทวิ
การสืบพยานไว้ล่วงหน้าก่อนวันนัดสืบพยาน
ต้องกระทำโดยรวดเร็ว ต่อเนื่อง
เเละเป็นธรรม 8/1 173/1
การสืบพยานหลักฐานต้องกระทำโดยรวดเร็ว
การรวบรวมพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงในคดีเเละการสืบพยานหลักฐานต้องเป็นไปด้วยความรวดเร็ว
การสืบพยานหลักฐานต้องกระทำโดยต่อเนื่อง
การสืบพยานหลักฐานของศาลในคดีใดคดีหนึ่งจะต้องทำติดต่อกันไปตั้งเเต่ต้นจนจบโดยไม่มีการเปลี่ยนองค์คณะ
การสืบพยานหลักฐานอย่างเป็นธรรม
ผู้ทำหน้าที่รับฟังการสืบพยานหลักฐานจะต้องมีความเป็นกลางในการรับฟังพยานหลักฐาน ไม่รับฟังเข้าข้ายฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง
ต้องกระทำโดยใช้ภาษาไทย
13 วรรค 1 เเละ2
การสอบสวน ไต่สวนมูลฟ้อง หรือพิจารณา ให้ใช้ภาษาไทย
แต่ถ้ามีความจำเป็นต้องแปลภาษาไทยท้องถิ่นหรือภาษาถิ่นหรือภาษาต่างประเทศเป็นภาษาไทยหรือต้องแปลภาษาไทยเป็นภาษาไทยท้องถิ่นหรือภาษาถิ่นหรือภาษาต่างประเทศให้ใช้ล่ามแปล
ในกรณีที่ผู้เสียหาย ผู้ต้องหา จำเลย หรือพยาน
ไม่สามารถพูดหรือเข้าใจภาษาไทย
หรือ
สามารถพูดหรือเข้าใจเฉพาะภาษาไทยท้องถิ่นหรือภาษาถิ่น และไม่มีล่าม
ให้พนักงานสอบสวนพนักงานอัยการหรือศาล
จัดหาล่าม
ให้โดยมิชักช้า
ล่ามต้องสาบานหรือปฏิญาณตนก่อนทำหน้าที่ดังกล่าว
วรรค 2 ใช้กับบุคคลเท่านั้นไม่ใช้กับเอกสาร หากต้องการอ้างเอกสารต่างประเทศจะต้องแปลมาเองหากเเปลไม่ได้ก็ไม่สามารถนำมาใช้นำสืบได้
เว้นเเต่
ศาลจะเห็นว่าเป็นเอกสารสำคัญเเละเป็นไปเพื่อประโยชน์เเห่งความยุติธรรม
ศาลจะสั่งให้จัดหาล่ามมาให้ก็ได้
การยื่นบัญชีระบุพยาน
ในคดีที่ศาลกำหนดวันตรวจ
พยานหลักฐาน 173/1
173/1
เพื่อให้การพิจารณาเป็นไปด้วยความรวดเร็ว ต่อเนื่อง และเป็นธรรมในคดีที่จำเลยไม่ให้การหรือให้การปฏิเสธ เมื่อคู่ความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งร้องขอหรือศาลเห็นสมควรศาลอาจกำหนดให้มีวันตรวจพยานหลักฐานก่อนกำหนดวันนัดสืบพยานก็ได้ โดยแจ้งให้คู่ความทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่าสิบสี่วัน
ก่อนวันตรวจพยานหลักฐานตามวรรคหนึ่งไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน ให้คู่ความยื่นบัญชีระบุพยานต่อศาลพร้อมสำเนาในจำนวนที่เพียงพอ เพื่อให้คู่ความฝ่ายอื่นรับไปจากเจ้าพนักงานศาลและถ้าคู่ความฝ่ายใดมีความจำนงจะยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม ให้ยื่นต่อศาลก่อนการตรวจพยานหลักฐานเสร็จสิ้น
การยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติมเมื่อล่วงพ้นระยะเวลาตามวรรคสองจะกระทำได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากศาล เมื่อผู้ร้องขอแสดงเหตุอันสมควรว่าไม่สามารถทราบถึงพยานหลักฐานนั้นหรือเป็นกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรม หรือเพื่อให้โอกาสแก่จำเลยในการต่อสู้คดีอย่างเต็มที่
ถ้าพยานเอกสารหรือพยานวัตถุใดอยู่ในความครอบครองของบุคคลภายนอก ให้คู่ความที่ประสงค์จะอ้างอิงขอให้ศาลมีคำสั่งเรียกพยานเอกสารหรือพยานวัตถุดังกล่าวมาจากผู้ครอบครองโดยยื่นคำขอต่อศาลพร้อมกับการยื่นบัญชีระบุพยาน เพื่อให้ได้พยานเอกสารหรือพยานวัตถุนั้นมาก่อนวันตรวจพยานหลักฐานหรือวันที่ศาลกำหนด
หลักเกณฑ์
การยื่นบัญชีระบุพยานเพิ่มเติม 173/1 ว.2 ตอนท้าย
คู่ความสามารถยื่นบัญชีระุพยานเพิ่มเติมได้โดยไม่ต้องขออนุญาติจากศาลเเต่ต้องยื่น
ก่อนวันตรวจพยานหลักฐานเสร็จสิ้น
คือ
ต้องยื่นภายในวันนัดตรวจพยานหลักฐาน
ทำได้ต่อเมื่อได้ยื่นบัญชีระบุพยานถูกต้องตามการยื่นครั้งเเรกใน วรรคหนึ่งเเล้วเท่านั้น
การยื่นบัญชีระบุพยานเมื่อล่วงพ้นระยะเวลาตามปกติ 173/1 ว.3
ผู้ร้องขอต้องแสดงเหตุอันสมควรว่า
3 more items...
วัตถุประสงค์
เป็นข้อยกเว้นของทั้ง 2 กรณี
การยื่นบัญชีระบุพยานครั้งแรก 173/1 ว.2
ยื่นบัญชีระบุพยาน+สำเนาก่อนวันนัดสืบพยานไม่น้อยกว่า 7 วัน
ในคดีทั่วไป 229/1
หลักเกณฑ์
ยื่นครั้งเเรก
229/1 ว.1
โจทก์
ต้องยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐานเเละสำเนาต่อศาล
ไม่น้อยกว่า 15 วันก่อนวันไต่สวนมูลฟ้องหรือวันสืบพยาน
จำเลย
ไม่ต้องยื่นบัญชีระบุพยานในวันเดียวกับโจทก์ยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐานเเละสำเนา
ก่อนวันสืบพยานจำเลย
ยื่นล่วงเลยเวลาที่กำหนด
ถ้าคู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งได้ยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐานไว้แล้วมีเหตุอันสมควรแสดงได้ว่าตนไม่สามารถทราบได้ว่าต้องนําพยานหลักฐานบางอย่างมาสืบ หรือไม่ทราบว่าพยานหลักฐานบางอย่างได้มีอยู่ หรือมีเหตุสมควรอื่นใดที่
ไม่สามารถยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐานตามกําหนดเวลาดังกล่าวได้
โจทก์หรือจำเลยก็อาจ
ร้องขออนุญาตอ้างพยานหลักฐานดังกล่าวต่อศาล
พร้อมกับยื่นบัญชีระบุพยานหลักฐาน
ไม่ว่าเวลาใด ๆ ก่อนเสร็จสิ้นการสืบพยานของฝ่ายนั้น
ในคดีอาญาพยานหลักฐานบางอย่างในทางปฏิบัติไม่ถือว่าอยู่ในบังคับที่ต้องระบุในบัญชีระบุพยาน เช่น ของลกาง หรือทรัพย์สินที่มีไว้หรือใช้ในการกระทำความผิด(เนื่องจากเป็นของที่กล่าวในฟ้องจำเลยทราบอยู่เเล้ว) หมายต่างๆของศาลเพราะไม่ถือเป็นประเด็นเเห่งคดี
สภาพบังคับกรณีไม่ยื่นฯ 229/1 ว.ท้าย
ห้ามมิให้ศาลอนุญาตให้สืบและรับฟังพยานหลักฐาน
ใดซึ่งคู่ความหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องซึ่งอ้างพยานหลักฐานนั้นมิได้แสดงความจำนงจะอ้างอิงพยานหลักฐานนั้นตามวรรคหนึ่ง วรรคสอง หรือวรรคสาม หรือตามมาตรา ๑๗๓/๑ วรรคสองหรือวรรคสาม
แต่ถ้าศาลเห็นว่าจำเป็นที่จะต้องคุ้มครองพยาน หรือจะต้องสืบพยานหลักฐานดังกล่าวเพื่อให้การวินิจฉัยชี้ขาดข้อสำคัญแห่งประเด็นเป็นไปโดยเที่ยงธรรม หรือเพื่อให้โอกาสแก่จำเลยในการต่อสู้คดีอย่างเต็มที่ ให้ศาลมีอำนาจอนุญาตให้สืบและรับฟังพยานหลักฐานเช่นว่านั้นได้
ข้อยกเว้นการสืบพยานหลักฐานตามขั้นตอน
การเดินเผชิญสืบ
229 230 230/1
เป็นข้อยกเว้นหลักการสืบพยานต้องทำในศาล
สืบได้เฉพาะในเขตอำนาจศาลเท่านั้น
การส่งประเด็นไปสืบ
230 ว.1
เป็นข้อยกเว้นหลักการสืบพยานต้องทำในศาล
การสืบพยานหลักฐานล่วงหน้า
มีการฟ้องคดีเเล้ว 173/2 วรรค 2
ก่อนฟ้องคดี 237 ทวิ
วิธีการนำสืบตามลักษณะของพยานหลักฐาน
แพ่ง
พยานเอกสาร
ความหมาย
รูปถ่าย
ต้องพิจารณาลักษณะของรูปถ่ายว่ามีลักษณะอย่างไร หากเป็นของเเทนพยานวัตถุ ก็ไม่ใช้พยานเอกสาร เเต่หากใช้เป็นสำเนาของพยานเอกสาร ก็อาจเป็นพยานเอกสารได้
คำเเปลเอกสารต่างประเทศ
เอกสารต่างประเทศนั้น เป็นพยานเอกสารอย่างหนึ่ง เเต่เนื่องจากการดำเนินกระบวนพิจาณานั้นมีหลักอยู่วา่จะต้องทำเป็นภาษาไทย ทำให้ต้องมีการแปลเอกสารเป็นภาษาไทย คำแปลเอกสารเเม้จะอยู่ในรูปของเอกสารเเต่ก็ไม่ใช่พยานเอกสารที่จะต้องส่งสำเนาให้คู่ความ เเละไม่จำเป็นต้องระบุในบัญชีระบุพยาน
รายงานความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
เเม้จะอยู่ในรูปของเอกสารเเต่ก็ไม่ใช่พยานเอกสาร เป็นเพียงพยานผู้เชี่ยวชาญที่อยู่ในรูปของพยานเอกสารเท่านั้น
วิธีการนำสืบ
การนำสืบด้วยต้นฉบับเอกสาร
93 ปวิพ
ต้นฉบับเอกสาร
เอกสารซึ่งทำขึ้นเป็นครั้งเเรกโดยบุคคลซึ่งประสงค์จะใช้เอกสารนั้นในการสื่ความหมาย ในการทำอาจมีการทำมากกว่า 1 ฉบับเป็นคู่ฉบับ เเละทุกฉบับย่อมถือเป็นต้นฉบับทั้งหมด
สำเนาเอกสาร
เอกสารซึ่งทำซ้ำต้นฉบับ โดยอาจทำซ้ำเป็นหลายฉบับก็ได้ การจะเป็นต้นฉบับหรือไม่ต้องพิจารณาของคู่กรณีเป็นสำคัญ
คู่ฉบับ
เอกสารที่ทำขึ้นคราวเดียวกับต้นฉบับ เเละมีข้อความตรงกับต้นฉบับเเละคู่กรณีมีเจตนาให้ใช่เป็นคู่ฉบับของเอกสารนั้น
หลัก
ต้องนำสืบด้วยต้นฉบับเสมอ จะนำสืบด้วยสำเนอเอกสารไม่ได้
ข้อยกเว้น
นำสืบสำเนาเอกสารได้ในกรณีดังต่อไปนี้
(1) คู่ความทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องตกลงกันเเล้วว่าสำเนาเอกสารนั้นถูกต้อง
สำเนาเอกสารถูกต้องตรงกับต้นฉบับไม่จำเป็นต้องนำสืบต้นฉบับก็ได้
การตกลงกฎหมายไม่ได้กำหนดว่าต้องทำเป็นหนังสือ อาจทำด้วยวาจาก็ได้
(2) ต้นฉบับเอกสารนำมาไม่ได้เพราะถูกทำลายโดยเหตุสุดวิสัย หรือสูญหาย หรือไม่สามารถนำมาได้โดยประการอื่น
ต้นฉบับถูกทำลายโดยเหตุสุดวิสัย
ต้นฉบับสูญหาย หรือไม่สามารถนำมาได้โดยประการอื่น
เหตุอื่นที่ศาลเห็นสมควร
(3) ต้นฉบับอยู๋ในความอารักขาในการควบคุมของทางราชการ
ต้องเป็นกรณีที่ต้นฉบับอยู่กับทางราชการเท่านั้น หากเป้นกรณีที่ต้นฉบับอยู่กับข้อความอีกฝ่าย+สำเนาอยู่กับทางราชการจะอ้างสำเนาที่ทางราชการรับรองไม่ได้
(4) คู่ความอีกฝ่ายหนึ่งไม่คัดค้านเอกสารตามมาตรา 125
หากไม่มีการคัดค้านกัรนำสำเนามาเเสดงก็สามารถนำสำเนามาเเสดงได้
สำเนาเอกสารมหาชน 127
การยื่นเอกสารล่วงหน้า
90 ปวิพ
ยื่นเอกสารต่อศาลเเละส่งสำเนาให้คู่ความไม่น้อยกว่า 7 วันก่อนวันสืบพยาน หากเป็นกรณีพยานเอกสารที่ยื่นตามบัญชีระบุบพยาน ม. 88 ว.1
การยื่นเอกสารตามบัญชีระบุพยานที่ยื่นตาม 88 ว.1 เเละ ว.2 ให้ยื่นต่อศาลเเละส่งสำเนาให้คู่ความในวันที่ได้มีการยื่นคำร้องขอดังกล่าว
เว้นเเต่ศาลจะกำหนดให้ยื่นสำเาเอกสารภานหลังตามเวลาอันควร
หากคู่ความปฏิบัติไม่ถูกต้องตาม 90
เอกสารนั้นรับฟังไม่ได้ตาม 87(2)
ข้อยกเว้นที่ไม่ต้องยื่นสำเนาเอกสารล่วงหน้า
เอกสารเป็นชุด
ต้นฉบับเอกสารอยู่ในความครอบครองคู่ความฝ่ายอื่นหรือของบุคคลภายนอก
ยื่นคำร้องของต่อศาลขอให้ศาลเรียกเอกสารนั้นมาจากผู้ครอบครองตาม 123 ภายในเวลาตาม ม.90
หากคู่ความไม่ปฏิบัติตาม กฎหมายให้ถือว่า
ข้อเท็จจริงที่คู่ความประสงค์จะนำสืบนั้นคู่คงามอีกฝ่ายได้ยอมรับเเล้ว
เเละศาลอาจอนุญาตให้นำสำเนาหรือพยานบุคคลมาสืบก็ได้ตาม 93(2)
กรณีที่การคัดสำเนาจะทำให้กระบวนพิจารณาล่าช้า / มีเหตุผลที่ไม่อาจคำสำเนาให้เสร็จภายในกำหนดเวลาที่ต้องยื่นสำเนาเอกสาร
กรณีอื่นๆ
เอกสารในกระบวนพิจารณาเพื่อไต่สวนคำร้องขอปลีกย่อยในคดี
ภาพถ่ายสถานที่เกิดเหตุ บาดเเผลของ ผสห
สำเนาเอกสารที่ได้เเนบไปในคำคู่ความเเล้ว
คู่ความรับรองเอกสาร ศาลรับฟังสำเนาได้เเม้ไม่ได้มีการส่งล่วงหน้า
93
ต้องยื่นต้นฉบับเอกสารเท่านั้น โดยให้ระบุในบัญชีระบุพยาน
การสืบพยานบุคคลประกอบพยานเอกสาร 127
การเสียค่าอากรเเสตมป์
หากไม่ได้เสียอากรก่อนวันที่สาลมีคำพิพากษา เอกสารนั้นต้องห้ามไม่ให้รับฟัง
ประเภท
หนังสือหรือเอกสาราชการ
ความหมาย
เป็น
เอกสารที่เจ้าพนักงานทำขึ้นหรือรับรองในหน้าที่
เเละหมายความรวมถึง
สำเนาของเอกสารนั้นๆที่เจ้าพนักงานได้ทำหรือรับรองในหน้าที่ของตนด้วย
เอกสารมหาชน เเละเอกสารเอกชน
เอกสารมหาชน
เอกสารที่เกี่ยวข้องกับมหาชนซึ่งได้กระทำขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าพนักงาน เเละพร้อมที่จะให้ประชาชนตรวจดูได้โดยอาจะเป็นเอกสารของฝ่ายนิติบัญญัติหรือฝ่ายบริหาร
ผู้ซึ่งทำเอกสารนั้นเป็นเจ้าหน้าที่ผู้มีหน้าที่ทำการนั้นให้แก่ประชาชน
มหาชนมีสิทธิอ้างถึงเอกสารนั้นได้
เอกสารนั้นมีเนื้อความที่เกี่ยวข้องกับเรื่องมหาชน
เมื่อเป็นเอกสารมหาชน
ย่อมได้รับข้อสันนิษฐานความถูกต้องเเท้จริงตาม 127 ปวิพ
เอกสารเอกชน
เอกสารที่ไม่ใช่ทั้งเอกสารมหาชนเเละเอกสารราชการ เเต่เป็นหนังสือที่ราษฎรทำขึ้น หรือเป็นเอกสารที่เจ้าพนักงงานทำขึ้นในราชการโดยที่มหาชนตรวจดูเเละใช้ประโยชน์ไม่ได้
การคัดค้านเอกสาร 125
หลักเกณฑ์
ต้องอ้างเหตุ 3 อันนี้เท่านั้น
อ้างว่าเอกสารไม่มีต้นฉบับ
เอกสารนั้นสำเนาเอกสารได้ทำปลอมขึ้นโดยไม่มีต้นฉบับ
ต้นฉบับนั้นปลอมทั้งหมดหรือบางส่วน
ต้นฉบับของสำเนาเอกสารเป็นเอกสารปลอม
สำเนาเอกสารไม่ถูกต้องตรงกับต้นฉบับ
สำเนานั้นถูกคัดลอกหรือทำขึ้นไม่ตรงกับต้นฉบับ
ผลของการคัดค้าน / ไม่คัดค้านเอกสาร
ผลของการคัดค้าน
เกิดประเด็นว่าเอกสารที่คู่ความอ้างนั้นเป็นเอกสารเเท้จริงหรือไม่ ฯลฯ
นำไปสู่ข้อโต้เเย้งก่อนเอกสารซึ่งศาลอาจมีคำชี้ขาดก่อนคำพิพากษาได้ตาม 126
ผลของการไม่คัดค้าน
คู่ความย่อมหมดสิทธิที่จะนำพยานหลักฐานอื่นเข้าสืบหักล้างว่าเอกสารนั้นไม่ถูกต้อง
เอกสารนั้นรับฟังได้ว่าเป็นของเเท้หรือสำเนาถูกต้อง ฝ่ายที่อ้างไม่ต้องนำสืบพยานหลักฐานเพิ่มเติมเเต่อย่างใด
กรณีเลยกำหนดเวลาคัดค้านมาเเล้ว
คู่ความยังสามารถนำพยานหลักฐานเข้าสืบเพื่อพิสูจน์ความไม่สมบูรณ์ของเอกสารหรือการตีความได้ ตาม ม.126 ว.3
พยานเกี่ยวกับธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พยานบุคคล
ความหมายของพยานบุคคล
ตัวบุคคลผู้ไปเบิกความให้ข้อเท็จจริงหรือถ้อยคำกับศาล + ศาลได้จดลงไว้ในสำนวนความ
คำเบิกความในคดีหนึ่งจะภือเป็นคำเบิกความของอีกคดีหนึ่งไม่ได้
บุคคลใดบ้างที่สามารถเป็นพยานได้
บุคคลทุกคนที่เข้าใจคำถามเเละตอบคำถามได้ตาม 95(1) อาจเป็นประจักษ์พยานหรือพยานบอกเล่าก็ได้
คดีอาญาห้ามโจทก์อ้างจำเลยเป็นพยาน
บุคคลที่ไม่สามารถเป็นพยานได้
ไม่เข้าใจคำถาม + ตอบคำถามไม่ได้
จำเลยในคดีอาญาไม่อาจถูกอ้างเป็นพยานฝ่ายโจทก์ได้
ในทางเเพ่งอ้างได้
ข้อสังเกต
คู่ความสามารถอ้างพยานร่วมกันได้
คู่ความฝ่ายหนึ่งอาจอ้างตนเอง หรือคู่ความอีกฝ่ายเป็นพยานก็ได้
จำเลยในคดีอาญาอ้างตนเองเป็นพยานได้
พยานบุคคลที่ต้องรู้คำถามเเละตอบคำถามได้นั้น ไม่ตำกัักอายุ เเม้จะพิการ หูหนวก ตาบอด เเต่ถ้าเข้าใจเเละสื่อความได้ก็เป็นพยานหลักฐานได้
หน้าที่
หน้าที่ที่จะต้องไปเบิกความ 106
พยานที่ไปกับคู่ความของตนเอง
พยานนำ
พยานที่ไม่เต็มใจมาเบิกความ ศาลอาจเรียกมาได้โดยใช้หมาย
พยานหมาย
ในกรณีที่พยานยังไม่ยอมมาศาลอาจถูกหมายจับเเละขังไว้ตาม 111(2) + มีความผิดตาม ป.อ. 170
ขังจนกว่าจะเบิกความ
หน้าที่ต้องสาบานหรือปฏิญาณตน 112
สาบาน
กรณีอ้างอิงถึงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ตามความเชื่อ หรือศาสนาของบุคคลนั้น
ปฏิญาณ
เป็นการพูดว่าจะพูดความจริง
กฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ว่ากรณีต้องสาบาน กรณีใดต้องปฏิญาณ
หากตอนเบิกความไม่ได้สาบาน/ปฏิญาณ
เเต่มาสาบานหรือปฏิญาณรับร้องถ้อยของตนในภายหลัง
ถือว่ามีการสาบาน/ปฏิญาณตน กรณีนี้สามารถทำได้
กรณีที่ไม่ต้องสาบาน/ปฏิญาณตน
บุคคลอายุต่ำกว่า 15 ปี / หย่อนความรู้สึกผิดชอบ
พระภิกษุหรือสามเณร
ในพระพุทธศาสนา
ศาสนาอื่นยังต้องสาบาน
คู่ความตกลงกันว่าไม่ต้องสาบาน
เเต่ยังต้องปฏิญาณ
หน้าที่เบิกความตามความเป็นจริง
เบิกความพยานตามที่เห็น ได้ยินมาโดยตรง
คิดเดาเอาเองไม่ได้
หน้าที่อื่นๆของพยาน
พยานต้องเบิกความด้วยวาจา
เว้นเเต่ศาลจากศาล หรือเป็นพยานผู้เชี่ยวชาญ
ต้องลงชื่อในบันทึกต่อหน้าพยานอื่นที่จะเบิกความในภายหลัง ตาม 114 ปวิพ เเละ 236 ปวิอ
การที่พยานรับฟังคำเบิกความของพยานคนก่อนไม่ถึงกับทำให้คำเบิกความนั้นรับฟังไม่ได้
114 ว 2
สิทธิของพยาน
สิทธิที่จะไม่ไปศาล 106/1
สิทธิที่จะไม่สบานตน/ปฏิญาณ 112
สิทธิที่จะไม่เบิกความ 115
สิทธิที่จะไม่ตอบคำถาม ปวิพ 118 ว3 + ปวิอ 234
สิทธิที่จะไม่เปิดเผยความลับ ปวิพ 95 + ปวิอ 231
ความลับของทางราชการ
ความลับในทางวิชาชีพ
ความลับเกี่ยวกับประดิษฐ์เเบบหรือการงานอื่น
การเบิกความ ตามมาตรา ปวิพ 113 + 96
หลัก
พยานต้องเปิดความด้วยวาจาเเละด้วยความจำของตน + ใช้ภาษาไทย + ต้องเบิดความเกี่ยวกับข้อเท็จจริงไม่ใช่ข้อกฎหมาย
ข้อยกเว้น
การเบิกความด้วยวาจา ; ในกรณีที่พยานหูหนวก หรือเป็นใบ้อาจให้เบิกความด้วยวิธีการอื่นก็ได้
การเบิกความโดยความจำของตน; ในกรณีของพยานผู้เชี่ยวชาญ
การเบิกความต้องทำเป็นภาษาไทย ; กรณีพยานไม่รู้ภาษาไทย ให้จัดหาล่าม
ผู้ถามพยาน
ศาลเป็นผู้ถามพยานเองทั้งหมด
ศาลเป็นผู้ถามพยานก่อนบางส่วน
ศาลให้คู่ความเป็นผู้ถามพยานเองตามลำดับ
ลำดับของถามพยาน
ถามค้าน
เพื่อทำลายน้ำหนักคำพยานฝ่ายตรงข้าม
เพื่อเเสวงหาประโยชน์จากคำเบิกความขอพยานฝ่ายตรงข้ามมาสนับสนุนคดีของตน
ถามติง
ถามซัก
ห้ามใช้คำถามนำ
พยานบุคคลที่ศาลรับฟังได้และห้ามรับฟัง
พยานบุคคลที่ศาลห้ามรับฟัง
หลัก
ในกรณีที่กฎหมายไม่ได้กำหนดเป็นอย่างอื่น
พยานบุคคลที่รับฟังได้จะต้อง
สามารถเข้าใจคำถามเเละตอบคำถามได้
เป็นผู้ที่ได้เห็น ได้ยินหรือทราบข้อเท็จจริงนั้นมาด้วยตนเองโดยตรง (
เป็นประจักษ์พยาน
)
ข้อยกเว้น
รับฟังพยานบอกเล่าได้
พยานบอกเล่า เช่น
คำให้การของจำเลยในชั้นสอบสวน
รับฟังได้ในบางกรณีเเต่พยานบอกเล่ามีน้ำหนักน้อยกว่าประจักษ์พยาน
ข้อยกเว้น
พยานบอกเล่ามีความสำคัญเทียบเคียงพยานชั้นหนึ่ง
คำบอกเล่าที่เป็นคำรับของคู่ความ
คำรับที่ทำให้ตนเสียประโยชน์
สามารถรับฟังได้ทั้งในคดีเเพ่งเเละในคดีอาญา เพราะปกติไม่มีคนอยากให้ตัวเองเสียประโยชน์ เมื่อมีการกล่าวอ้างเช่นนั้นย่อมมีเหตุเชื่อได้วา่ผู้กล่าวหาพูดตามจรง
คำบอกเล่าของผู้ที่ตายไปเเล้ว
รับฟังเฉพาะบางกรณี ต้องประกอบด้วยเงื่อนไขดังต่อไปนี้
เป็นพยานหลักฐานในคดีที่ผู้คนตายบาดเจ็บหรือถูกทำร้ายถึงตายเท่านั้น
ผู้กล่าวได้รู้ตัวดีว่า ความตายนั้นใกล้จะถึงหรือตนเองใกล้จะตาย
1 more item...
รับฟังเฉพาะในเหตุที่ต้องบากเจ็บหรือถูกประทุษร้ายเท่านั้น
เรื่องอื่นๆเเม้จะพูดขณะเดียวกันก็รับฟังเป็นพยานหลักฐานในคดีไม่ได้
คำกล่าวถึงสิทธิสาธารณะ หรือสิทธิที่ราษฎรมีอยู่ร่วมกัน
ต้องประกอบด้วยเงื่อนไข 3 ประการ
เป็นคำกล่าวของบุคคลซึ่งถึงเเก่ความตายไปเเล้ว + เป็นคำกล่าวของบุคคลที่ไม่สามารถนำมาเป็นพยานได้ เช่น วิกลจริต สาบสูญ
ผู้ที่กล่าวจะต้องอยู่ในฐานะที่จะมีความรู้เช่นนั้น
กล่าวไว้ก่อนที่รู้สึกว่าจะมีข้อพิพาทเกิดขึ้น
ข้อความในเอกสารมหาชน
คำพิพากษาในเรื่องก่อน
หลัก
ผูกพันเฉพาะคู่กรณีเท่านั้น จะนำมาใช้อ้างยันกับบุคคลภายนอกไม่ได้
ข้อยกเว้น
เป็นเรื่องเกี่ยวกับฐานะหรือความสามารถของบุคคลคำสั่งให้เลิกนิติบุคคล คำสั่งให้ล้มละลาย คำวินิจฉัยถึงกรรมสิทธิ์เเห่งทรัพย์สินนำมาใช้อ้างได้
คำเบิกความในคดีเรื่องก่อน
เมื่อคู่ความตกลงกันหรือท้ากันให้เอาคำเบิกความนั้นๆมาใช้เป็นข้อเเพ้ชนะกัน
การพิสูจน์ต่อพยาน
การถามค้านของคู่ความฝ่ายที่มีหน้าที่นำสืบภายหลัง 89
เพื่อหักล้าง เปลี่ยนเเปลงเเก้ไขถ้อยคำพยานของฝ่ายที่นำสืบก่อน
ซึ่งพยานเช่นนั้นเป็นผู้รู้เห็น
เพื่อพิสูจน์ข้อความอย่างใดอย่างหนึ่ง
อันเกี่ยวด้วยการกระทำหรือถ้อยทำหรือหนังสือ ซึ่งพยานนั้นได้กระทำขึ้น
ให้ถามค้านพยานในเวลาที่พยานนั้นเบิกความ เเม้ว่าพยานนนั้นจะไม่ได้เบิกความถึงข้อความดังกล่าวก็ตาม
ต้องคัดค้าานยในขณะที่คู่ความฝ่ายที่มีหน้าที่นำสืบพยานหลังนำพยานเข้าสืบ
ต้องเป็นการนำสืบในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่พยานปากนั้นให้การ หากไมเกี่ยวก็ไม่ต้องร้องถามค้านไว้ก่อน
เป็นการเอาพยานมาสืบเพื่อโจนมตีตัวพยานโดยตรง
ไม่นำมาใช้กับคดีอาญา เว้นเเต่คดีเกี่ยวกับการขอคืนของกลาง
การขออนุญาตศาลพิสูจน์ต่อพยาน 120
ต้องขอพิสูจน์ต่อพยานของคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งเท่านั้น จะพิสูจน์ต่อพยานของตนไม่ได้ + ทำได้ต่อเมื่อศาลอนุญาต
เป้นการกระทำที่มุ่งต่อตัวพยานเพื่อเเสดงว่าพยานไม่น่าเชื่อถือ ไม่ใช่การนำสืบพยานตามข้ออ้างหรือข้อเถียง
ไม่ต้องยื่นบัญชีระบุพยานเเละนำไม่ใช้กับคดีอาญา
พยานปรปักษ์ 117
พยานของฝ่ายตนเเสดงออกอย่างชัดเเจ้ง หรือเบิกความให้เป็นปรปักษณ์กับฝ่ายที่อ้างตนมา
ต้องถึงขนาดว่าพยานฝ่ายนั้นไม่ประสงค์เบิกความตามความจริงให้แก่ฝ่ายที่อ้างตนมา
หากเป็นเพียงเบิกความไม่เป็นไปตามความประสงค์ของคู่ความที่อ้างพยานนั้นมา
ไม่ถือว่าเป็นพยานปรปักษ์
เป็นเพียงพยานไม่เอื้อเฟื้อเท่านั้น
ศาลจะเป็นผู้วินิจฉัยว่ากรณีใดเป็นพยานปรปักษ์
พยานวัตถุ 99
ความหมายของพยานวัตถุ
พยานหลักฐานอื่นๆนอกจากเอกสารซึ่งนำมาให้ศาลตรวจดูเพื่อประโยชน์เเก่คดีของตน โดยไม่จำกักว่าเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่ เเละรวมถึงการที่นำบุคคลมาให้ศาลตรวจด้วย เช่น สัตว์ เทปบันทึกเสียง
วิธีการนำสืบพยานวัตถุ
การนำสืบพยานวัตถุในศาล 128
คู่ความจะนำพยานวัตถุดังกล่าวมาศาลในวันสืบพยานหรือวันอื่นใดตามที่ศาลได้กำหนด
โดยปกติศาลจะเก็บพยานวัตถุนั้นไว้จนกว่าคดีจะถึงที่สุด
ขอรับคืน 127 ทวิ
การนำสืบพยานวัตถุนอกศาล
เดินเผชิญสืบ
128/1
ในกรณีที่จำเป็นต้องใช้หลักฐานทางวิทยาศาตร์เพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริงที่เป้นประเด็นสำคัญ เมื่อศาลเห้นสมควรหรือคู่ความฝ่ายหนึ่งร้องขอ ศาลมีอำนาจสั่งให้ตรวจโดยวิธีการทางวิทยาศาตร์ได้ โดยไม่ต้องรอให้ถึงวันสืบพยานตามปกติ
พยานวัตถุที่เป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
พยานความเห็น
ความหมายเเละประเภทของพยานความเห็น
ความเห็นมหาชน
ความเห็นเอกชน
ความเห็นสามัญชน
ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
พยานผู้เชี่ยวชาญ
พยานผู้เชี่ยวชาญ
การเเต่งตั้ง
ฐานะ
พยานผู้มีความรู้เชี่ยวชาญ
อาญา
พยานเอกสาร
การนำสืบด้วยต้นฉบับเอกสาร
การส่งต้นฉบับเอกสารในวันตรวจพยานหลักฐาน
การนำสืบพยานเอกสารเเละการส่งสำเนาเอกสาร
การนำสืบพยานบุคคลหักล้างพยานเอกสาร
การปิดอากรแสตมป์
พยานบุคคล
หลักเกณฑ์ทั่วไป
การสืบพยานเด็ก
การถามปากคำ
การสืบพยานเด็กในชั้นำต่สวนมูลฟ้อง
การสืบพยานเด็กในชั้นพิจารณา
พยานวัตถุ
การนำสืบในศาลเเละนอกศาล
การให้คู่ความหรือพยานตรวจดูพยานวัตถุ
การนำสืบพยานบุคคลประกอบพยานวัตถุ
พยานที่เป็นหลักฐานทางวิทยาศาสตร์
ผู้เชี่ยวชาญ
การเบิกความความของผู้เชี่ยวชาญ
การทำความเห็นเป็นหนังสือ
มาตรฐานการพิสูจน์และการชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
อาญา
มาตรฐานการพิสูจน์
โจทก์
จำเลย
การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
หลักเกณฑ์การชั่งน้ำหนัก
พยานเอกสาร
พยานวัตถุ
พยานบุคคล
พยานผู้เชี่ยวชาญ
ผลสืบเนื่องจากการชั่ง
น้ำหนักพยานหลักฐาน
การพิพากษาว่าจำเลยเป็นผู้กระทำความผิดเเละลงโทษจำเลย
การยกประโยชน์เเห่งความสงสัยให้จำเลย
แพ่ง
มาตรฐานการพิสูจน์
ความหมาย
ระดับของมาตรฐานการพิสูจน์
การพิสูจน์ให้เห็นถึงเหตุอันมีพยานหลักฐานเพียงพอ
(probable cause)
การพิสูจน์ให้เห็นถึงมูลคดี (Prima facie case)
การพิสูจน์ให้เห็นถึงพยานหลักฐานที่น่าเชื่อถือกว่า
(prepondence of evidence)
การพิสูจน์ให้เห็นถึงพยานหลักฐานที่น่าเชื่อถืออย่างชัดเจน
(Clear and convincing evidence)
การพิสูจน์ให้ชัดเจนปราศจากข้อสงสัยตามปกติตามสมควรหรือปราศจากเหตุอันควรสงสัย (beyon reasonable doubt)
มาตรฐานการพิสูจน์ในคดีเเพ่ง
การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
ความหมาย
หลักทั่วไป
การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐานเเต่ละชนิด
พยานเอกสาร
พยานวัตถุ
พยานบุคคล
พยานผู้เชี่ยวชาญ