Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(5.ภาวะชัก, 4.การติดเชื้อในระบบประสาท, ความเสื่อมของระบบประสาท…
5.ภาวะชัก
มีผลต่อทุกส่วนของสมอง
อาการชักแบบชักเกร็ง
อาการชักแบบกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการชักแบบเหม่อลอย
อาการชักแบบชักกระตุก
อาการชักแบบชักกระตุกและเกร็ง
อาการชักแบบชักสะดุ้ง
การวินิจฉัย
จะซักถามข้อมูลจากผู้ป่วยและผู้ใกล้ชิด
การตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง
การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
อาการชักเฉพาะส่วน
อาการชักแบบรู้ตัว
อาการชักแบบไม่รู้ตัว
อาการชัก เกิดจากเซลล์ไม่สามารถ ควบคุมการผ่านเข้า-ออกของ Na+ - K+ ได้
อาการชักต่อเนื่อง เป็นภาวะที่มีอาการชักซ้ำมากกว่า 1 ครั้ง/นานกว่า 30 นาที
โรคลมชักหรือลมบ้าหมูเกิดจากความผิดปกติของระบบประสาท ส่วนกลาง
4.การติดเชื้อในระบบประสาท
การติดเชื้อตั้งแต่สมองถึงไขสันหลัง
สาเหตุจากเชื้อโรคต่าง ๆ
การติดเชื้อจาก ระบบอื่น
การมีบาดแผลโดยตรง
จุลชีพก่อโรค (Pathogen)
การติดเชื้อในระบบประสาทที่พบบ่อย
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรียจะอันตรายที่สุด
สาเหตุของภาวะน้ำคั่งใน กะโหลกศีรษะ
อาการและอาการแสดง
อาการที่แสดงถึงการติดเชื้อ
เบื่ออาหาร หนาวสั่น มีไข้ สูง 38-39 องศาเซลเซียส
อาการที่แสดงถึงภาวะแทรกซ้อน
อาการที่แสดงว่ามีการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
การตรวจวินิจฉัย
ประเมินได้จาก ประวัติการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เนื้อเยื่อสมองอักเสบ หรือสมองอักเสบ (Encephalitis)
เกิดทั้งสมองหรือบางส่วนของเนื้อสมอง
สาเหตุเชื้อไวรัส Japanese B, E โดยมียุงเป็นพาหะ
อาการ
ปวดศีรษะ มีไข้ อาเจียน
มีอาการของการระคายเคืองต่อเยื่อหุ้มสมอง
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจสมองด้วยคลื่น แม่เหล็ก (MRI)
ตรวจคลื่นไฟฟ้าสมอง
.ฝีในสมอง (Brain abscess)
เกิดจากเชื้อโรคที่เข้าสู่สมองโดยตรง
ลุกลามจากบริเวณใกล้เคียง
การติดเชื้อของอวัยวะที่อยู่ข้างเคียง
ช่องทางเปิดติดต่อกับภายนอก
ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันโรคของร่างกาย
. การติดเชื้อของอวัยวะที่ไกลออกไป
อาการและอาการแสดง
ปวดศีรษะในตอนเช้า มีไข้
อาเจียน อ่อนเพลีย
มีปัญหาการมองเห็น
การตรวจวินิจฉัย
การทํา MRI และ CT scan
ความเสื่อมของระบบประสาท (Neurodegenerative disorder)
ภาวะสมองเสื่อม (Dementia syndrome)
ภาวะที่สมองเริ่มมีการทํางานด้านใด ด้านหนึ่ง ถดถอยลง
พยาธิสรีรภาพของภาวะสมองเสื่อม
การเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างสมอง จะเกิดบริเวณเปลือกสมอง
การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างในเซลล์ (Cytoskeletal structure)
การเปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี
ภาวะสมองเสื่อมที่พบบ่อย
.โรคสมองเสื่อมที่พบเลวี บอดี
โรคสมองเสื่อมบริเวณสมองส่วนหน้า
ภาวะสมองเสื่อมจากโรคหลอดเลือด
Alzheimer disease
ระดับความรุนแรงแบ่งได้ 3 ระดับ
. ระดับปานกลาง (Moderate)
. ระดับรุนแรง (Severe)
ระดับเล็กน้อย (Mild)
การวินิจฉัยภาวะสมองเสื่อม
. มีความผิดปกติของความจํา (Memory impairment)
มีความผิดปกติอย่างน้อย 1 ข้อ
Aphasia
Apraxia
Agnosia
Disturbance of executive function
. ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในข้อ 1 และ 2
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นไม่ได้อยู่ในช่วงที่กําลังมีภาวะซึมสับสนเฉียบพลัน
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นนี้ไม่สามารถอธิบายได้ด้วยสาเหตุอื่นๆ
Parkinson’s disease
โรคที่เกิดจากการเสื่อมของเซลล์ประสาทในสมองส่วนที่สร้างสารสื่อประสาทโดปามีน
สาเหตุอาจเนื่องมาจากกรรมพันธุ์ร่วมกับปัจจัยทางสภาพแวดล้อม
อาการของโรค
อาการทางจิตประสาท
อาการทางระบบประสาทอัตโนมัติและอาการอื่น ๆ
.อาการทางกาย
อาการสั่น
อาการแข็งเกร็ง
การเคลื่อนไหวช้า
การวินิจฉัยโรค
ประเมินได้จากการซักประวัติตรวจร่างกาย
ตรวจพิเศษทางห้องปฏิบัติการ
7.การบาดเจ็บที่เกิดกับไขสันหลัง
การบาดเจ็บไขสันหลัง (Spinal cord injury)
เจ็บของไขสันหลังรวมถึงราก ประสาทที่อยู่ในโพรงของกระดูกสันหลัง
กลไกการเกิด
Rotating injury
Flexion with rotation injury
Hyperextension injury
Vertical Compression (Axial loading)
Acceleration injury of the neck (Whiplash injury)
Penetrating injury
Hyperflexion injury
พยาธิสรีรวิทยาที่เกิดขึ้นประกอบด้วย 2 กลไก
กลไกระดับปฐมภูมิ (Primary injuries)
กลไกระดับทุติยภูมิ (Secondary injuries
ประเภทของการบาดเจ็บไขสันหลัง
การบาดเจ็บไขสันหลังชนิดไม่สมบูรณ์ (Incomplete injury)
Brown - Sequard syndrome (Hemicord lesion)
Anterior cord syndrome
Central cord syndrome พบบ่อยสุด
Conus medullaris syndrome (Sacral cord injury)
Cauda equina syndrome
Spinal concussion
การบาดเจ็บไขสันหลังชนิดสมบูรณ์ (Complete injury)
Tetraplegia / Quadriplegia
Paraplegia อัมพาตครึ่งล่าง
ภาวะช็อกจากไขสันหลัง (Spinal shock)
ภาวะที่ไขสันหลังหยุดทํางานชั่วคราว หลังได้รับบาดเจ็บแบบเฉียบพลันและรุนแรง
อาการและอาการแสดง
จะเป็นอัมพาตแบบอ่อนปวกเปียก
ความดันโลหิตต่ำลง
ผิวหนังเย็น
ไม่มีรีเฟล็กซ์ (Areflexia)
ส่งผลให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ
ระบบผิวหนัง มักเกิดแผลกดทับ
ระบบกล้ามเนื้อและข้อต่อ
ระบบการย่อยและการขับถ่าย
อุณหภูมิของร่างกายเปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งแวดล้อม
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ปัญหาของระบบทางเดินหายใจ
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ