Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาวิชาชีพพยาบาลในประเทศไทย - Coggle Diagram
การพัฒนาวิชาชีพพยาบาลในประเทศไทย
ความสำคัญของการพัฒนาองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
การพัฒนาศาสตร์ของวิชาชีพ (Nursing science
การมีเอกสิทธิ์ทางวิชาชีพ (Nursing autonomy)
การพัฒนาคุณภาพบริการให้มีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ (Nursing services qualification)
วิธีการพัฒนาความรู้ทางวิชาชีพในด้านการบริการพยาบาล
จารีตประเพณี (tradition)
เป็นการได้มาซึ่งความรู้ที่เป็นความจริง (truth) หรือความเชื่อที่ถ่ายทอดต่อๆ กันมาจากผู้ที่เคยมีประสบการณ์มาก่อน
ผู้มีอำนาจหรือผู้มีชื่อเสียง (authority)
เป็นการได้ความรู้ที่ได้จากผู้ที่มีประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
การลองผิดลองถูก (trial and error)
เป็นการแสวงหาความรู้โดยการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าในขณะทำงาน มักจะใช้กับปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อน
การยืมมาจากศาสตร์อื่น (borrowing)
เป็นการได้มาของความรู้ทางการพยาบาลโดยการที่ผู้นำหรือนักวิชาการทางการพยาบาลยืมแนวคิด ทฤษฎีมาจากศาสตร์สาขาอื่นๆ
ป็นการได้มาซึ่งความรู้จากการที่บุคคลได้เผชิญกับเหตุการณ์หรือ
สถานการณ์นั้นๆ มาแล้ว
การใช้ตัวแบบและบุคคลที่เป็นพี่เลี้ยง (role-modeling and mentorships)
เป็นการเรียนรู้โดยการเลียนแบบพฤติกรรมของผู้ที่เรายึดถือเป็นแบบอย่าง
การรู้ด้วยตัวเองหรือการหยั่งรู้ (intuition)
เป็นความรู้จากการเข้าใจอย่างลึกซึ้งในสถานการหรือเหตุการณ์ทั้งหมดซึ่งโดยทั่วไปไม่สามารถอธิบายได้อย่างมีเหตุมีผล (logic)
การใช้เหตุผล (reasoning)
เป็นกระบวนการและการจัดระบบของความคิดเพื่อให้ได้ข้อสรุป
วิธีอนุมาน (deductive method) หรือ นิรนัย
การวิจัย (research)
การวิจัยจึงเป็นการค้นคว้าหา
ความจริงโดยการกระทำซ้ำหรือทำใหม่หลายๆครั้งเพื่อให้
แน่ใจว่าจะได้ความรู้ใหม่ที่ถูกต้อง
พยาบาลไทยในอดีต
โรงเรียนหญิงแพทย์ผดุงครรภ์แลการพยาบาลไข้ พ.ศ2439
โรงเรียนหญิงแพทย์ผดุงครรภ์แลการพยาบาลไข้ พ.ศ.2457
โรงเรียนพยาบาลแมคคอร์มิค พ.ศ.2466
โครงสร้างประชากรเปลี่ยนแปลงไป และสังคมไทย เข้าสู่สังคมผู้สูงอาย
การที่สังคมไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ จะส่งผลให้ แบบแผนการเกิดโรคเรื้อรังที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุมากขึ้น
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ทำให้สังคมไทย มีประชากรหลากหลายกลุ่มอายุหรือเจเนอเรชัน (generations)
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและความสัมพันธ์ของ ครอบครัว
แนวโน้มวิชาชีพพยาบาล
คุณภาพการศึกษาพยาบาล
การเมือง/บริบท
องค์กรวิชาชีพ
ความขาดแคลนครูพยาบาลที่มีคุณภาพ
ความหลากหลายของจุดมั่งหมายสถาบันในการการเปิดหลักสูตร
ความหมายของคุณภาพ
พยาบาลไทยในอนาคต
ความเป็นเลิศทางด้านวิชาการและทักษะปฏิบัติ
ความสามารถด้านภาษาสื่อสาร
ความสามารถด้านการปฏิสัมพันธ์
ความสามารถด้านเทคโนโลยี
คุณธรรมจริยธรรมสูง
สนใจใฝ่รู้อย่างสม่ำเสมอ
พยาบาลอาเซียน
องค์การอนามัยโลกกำหนดเกี่ยวกับสัดส่วนพยาบาลต่อประชากร คือ 20 ต่อ 10,000 (World Health Organization, 2010)
ซึ่งประเทศที่มีสัดส่วนที่ต่ำกว่ามาตรฐาน
ไทย
เวียดนาม
ลาว
กัมพูชา
พม่า
พยาบาลในกลุ่มประเทศอาเซียนมีความขาดแคลนแรงงานด้านพยาบาลอย่างมาก
การผลิตพยาบาลวิชาชีพ
ประเทศที่มีการนาเข้าพยาบาลเป็นหลัก
จุดเด่นของพยาบาลไทย
ทักษะการปฏิบัติการและความรู้มีความเป็นมาตรฐานสากล มีลักษณะพื้นฐานทางด้านจิตใจที่ดี
จุดด้อยของพยาบาลไทย
ทักษะทางด้านภาษาการสื่อสาร
โอกาสของพยาบาลไทย
เป็นศูนย์กลาง ทางด้านการพยาบาล
สามารถสร้างรายได้ที่สูงขึ้น มีทางเลือกในการทางานมากขึ้น
การเรียนรู้ทางด้านวัฒนธรรม
นวทางการปฏิบัติใหม่ ๆ ทางการพยาบาลที่เป็นประโยชน์
อุปสรรคของพยาบาลไทย
การถูกแย่งงาน ภาษา ศาสนา และวัฒนธรรมที่แตกต่าง
กลายเป็นข้อบังคับและกฎระเบียบที่ต้องนามาศึกษา
คุณภาพที่ต่างกันของสถาบันการผลิตพยาบาลทาให้คุณภาพของพยาบาลมีความแตกต่างกัน