Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลบคุคลที่มีปัญหาสขุภาพโรคเขตร้อน โรคตดิต่อและโรคอบุตัใิหม่,…
การพยาบาลบคุคลที่มีปัญหาสขุภาพโรคเขตร้อน โรคตดิต่อและโรคอบุตัใิหม่
มาลาเรีย
การติดเชื้อโปรโตซัว
Species of Plasmodium
P.falciparum
.P.vivax
.P. knowlesi
.P.ovale
P.malariae
การวินิจฉัย
เดินทางจากพื้นที่ระบาดภายในระยะเวลา 1 เดือน
เคยป่วยเป็นโรค มาลาเรียในระยะเวลา 3 เดือน
.มีอาการไข้ ปวดศีรษะ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ปวดกล้ามเนื้อ หนาวสั่น เหงื่ออก เบื่ออาหาร ชีก หอบเหนื่อย หายใจเร็ว ช็อก ตัวตาเหลือง ปัสสาวะออกน้อยสีเข้ม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Thick and Thin Blood Smear
Rapid Diagnostic test
PRC
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะหนาวสั่น มีอาการหนาวสั่น เป็นเวลา 30-60 นาที มีการแตกของเม็ดเลือดแดง
ระยะไข้ตัวร้อน ไข้สูง 40-41 องศาเซียลเซียส ใช้เวลา 1-4 ชม
ระยะเหงื่อ เหงื่อออกจนชุ่ม 2-3 ชม
การรักษาเมื่อมีอวัยวะสำคัญล้มเหลว
ชัก ให้ยากันชัก เช่น Dizepam
ตรวจ DTX ทุก 6 ชม ให้ IV fluid
ให้ PRC ถ้า (HCT<24%,HB<8g/dl)
นอนหัวสูง 45 องศา ให้ออกซิเจน ให้ยาขับปัสสาวะ
ถ้าขาดน้ำให้ IV fluid ถ้าไตวายให้ HD
ประเมินภาวะเลือดออก สาเหตุ และให้ ฺBlood component therapy ตามสาเหตุนั้นๆ
แกเไขภาวะ Hypovolemia ในผู้ป่วยที่ขาดน้ำ ไม่ให้ NaHCO3
Shock ดูสาเหตุ ขาดน้ำ ขาดน้ำตาล หรือติดเชื้อแบคทีเรีย และรักษาความดันให้ปกติ
ไข้เลือดออก
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัส Dengue Virus ในยุงลสยตัวเมีย เชื้อจะอยู๋ในร่างกายคนประมาณ 2-7 วันในช่วงที่มีไข้
เกิดจากไวรัสเดงกีซึ่งมีอยู่ 4 สายพันธ์ DEN1 DEN2 DEN3 DEN4
อาการ
ระยะไข้
ไข้
เบื่ออาหาร
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
มักมีหน้าแดง
อาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลำตัว
2-7 วัน
ระยะช็อก
ซึม
เหงื่ออออก มือเท้าเย็น
ปวดท้อง โดยเฉพาะบริเวณใต้ชายโครงขวา
ปัสสาวะออกน้อย อาจมีเลือดออกง่าย
24-48 ชั่วโมง
ระยะพักฟื้น
รู้สึกอยากรับประทานอาหาร
ความดันโลหิตสูง
ชีพจรเต้นแรงขึ้นและช้าลง
ปัสสาวะมากขึ้น
ผื่นแดงและมีจุดเลือดออกตามลำตัว
ความรุนแรงของโรค
Grade1 เป็นไข้เลือดออกที่ไม่มีจุดเลือดออก ทำ tourniquet test ให้ผลบวก
Grade2 มีจุดเลือดออกตามผิวหนังมีเลือดกำเดาไหล
Grade3 มีความดันโลหิต ชีพจรเร็ว pulse pressure แคบ เหงื่อออก
Grade4 ผู้ป่วยช็อกรุนแรง วัดความดันโลหิตไม่ได้
การดูแล
การดูแลระยะไข้สูง
ให้สารน้ำ 24-48 ชั่วโมง เพราะมีการรั่วของพลาสมา
ติดตามความเข้มข้นของเลือด สัญญาณชีพ ปริมาณปัสสาวะ
การให้สารน้ำเฉพาะผู้ที่ขาดน้ำ ผู้ปาวยที่ขาดน้ำไม่มากจะให้น้ำเกลือชนิดผงละลายน้ำดื่ม
เช็ดตัวลดไข้
ระยะช็อค
ประเมินสัญญาณชีพ ถ้าไข้ลดจะเข้าสู่ระยะช็อค
ดูค่า plusepressure ถ้าแคบกว่า 20 mmHg และ Blood pressure น้อยกว่า 90/60 ให้รายงาน
ประเมินปริมาณของปัสสาวะ
ประเมินอาการของภาวะช็อค
งดอาหารดำแดง
สังเกตอาการแน่นอึดอัดท้อง ประเมินอาการเลือดออกตามระบบต่างๆ
ระยะพักฟื้น
ประเมินสัญญาณชีพ
ประเมินภาวะน้ำเกิน
ประเมินปริมาณปัสสาวะ
แนะนำการดูแลตัวเอง
โรคพิษสุนัขบ้า
ระยะฟักตัวของโรคพิษสุนัขบ้า คือ 5 วัน จนถึง 8 ปี เชื้อไวรัสเรบีส์ ที่อยู่ในน้ำลายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ที่พบได้บ่อยที่สุดคือสุนัข
อาการ
ระยะที่ 1 อาการนำโรค อาการที่ไม่จำเพาะ เช่น มีไข้ต่ำๆ หนาวสั่น ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน บริเวณแผลที่ถูกกัดอาจมีอาการปวดเสียว คัน ชา เย็น
ระยะที่ 2 ปรากฏอาการทางประสาท เกิดภายหลังอาการนำโรคประมาณ 2-10 วัน
แบบคุ้มคลั่ง
แบบบอัมพาต
แบบแสดงอาการไม่ตรงต้นแบบ
ระยะที่ 3 ไม่รู้สึกตัว จะมีอาการหมดสติและเสียชีวิตจากระบบหายใจและไหลเวียนโลหิตล้มเหลว รวมทั้งหัวใจเต้นผิดจังหวะ ภายใน 1-3 วัน
การวินิจฉัย
Direct fluorescent antibody test
RT-PCR
การพยาบาลผู้ป่วย
การรักษาบาดแผลตามลักษณะของแผล
ให้รับประทานยาปฏิชีวนะ
การฉีดยาป้องกันบาดทะยัก
การฉีดยาป้องกันแก่ผู้สัมผัสโรคพิษสุนัขบ้า
หากมีอาการกลัวน้ำ กลัวลม ดูแลไปตามอาการ
คำแนะนำในการดูแลผู้ป่วยที่เป็นโรคพิษสุนัขบ้า
Thyphoid
สาเหตุ เกิดจากการติดเชื้อไทฟอยด์ เป็นแบคทีเรีย
การติดต่อ ติดต่อเฉพาะคนสู่คน จะขับเชื้ออกมาทางอุจจาระ ปัสสาวะส่วนน้อย
ระยะฟักตัวของโรค ประมาณ 3-21 วัน โดยเฉลี่ยคือประมาณ14 วัน
อาการ
ไข้สูง
ปวดศีรษะ
อ่อนแรง
ไอแห้ง
จุดแดงตามลำตัว
ปวดท้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Widal test
การตรวจหาสารภูมิต้านทานหรือแอนติบอดี้
การตรวจทางห้องปฏิบัติการอื่นๆ
ภาวะแทรกซ้อน
เลือกออกในลำไส้
โดยมักจะเกิดขึ้นหลังจากมีอาการได้ประมาณ 3 สัปดาห์เป็นต้นไป
การดูแล/รักษา
การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ
การรักษาประคับประคองตามอาการ
การเฝ้าระมัดระวังภาวะ Shock
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
การเฝ้าระวังการกลับเป็นซ้ำ
คําแนะนําสําหรับผู้ป่วย
อหิวาตกโรค
การติดเชื้อ เชื้อแบคทีเรีย vebrio cholera
การฟักตัว 24 ชั่วโมง - 5 วัน การติดต่อ ทางตรง การรับประทานอาหารและดื่มน้ำที่มีเชื้อ การสัมผัสอุจจาระของผู้ป่วย
อาการ
ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลวจำนวนไม่เกิน 1 ลิตร หายได้เองภายใน 5 วัน
ถ่ายเป็นน้ำรุนแรงโดยไม่มีอาการปวดท้อง ลักษณะเป็นน้ำสีเหลือง อาจสีเหมือนน้ำซาวข้าว เพราะมีมูกมาก
หากใน 24 ชั่วโมงแรก ปริมาณอุจจาระมากกว่า 1 ลิตร/ชั่วโมง ผู้ป่วยจะมีอาการกระหายน้ำมาห ปากคอแห้ง ปัสสาะวะออกน้อยเป็นสีเหลืองเข้ม
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Rectal swab culture
Polymerase Chain Reaction:PCR
การพยาบาล
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ Ringer lactate,Acetar,NSS
การให้ Oral Dehydrate Salt
เตรียมเตียงที่มีช่องตรงกลางให้ผู้ป่วยนอนถ่ายได้ และวัดปริมาณอุจจาระได้
การให้ยาฆ่าเชื้อตามแผนการรักษา
แยกผู้ป่วย
กักกันผู้สัมผัสโรค
ทำลายเชื้อโรคที่ติดมากับสิ่งขับถ่ายและภาชนะที่ผู้ป่วยใช้
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะเลือดคั่งในปอด
ภาวะไตวายเฉียบพลัน
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
ภาวะตะคริว
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ
ภาวะลำไส้ไม่ทำงาน
Leptospirosis
ระยะฟักตัว 2-20 วัน
การติดเชื้อ Leptospira อาศัยอยู่ในหลอดไตของสัตว์ เช่น หนู สุกร โค กระบือ
สาเหตุการติดเชื้อ การกินอาหาร ดื่มน้ำปัสสาวะของสัตว์ เชื้อเข้าทางแผล ทางเยื่อบุจมูก ปากหรือตา
อาการ
ระยะเชื้อเข้ากระแสเลือด
ปวดศีรษะทันที มักปวดบริเวณผากหรือหลัง
ปวดกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงมากโดยเฉพาะบริเวณน่อง โคนขา กล้ามเนื้อหลัง
ไข้สูง 38-40 เยื่อบุตาแดง
อาการต่างๆอาจอยู่ได้ 4-7 วัน
ระยะร่างกายสร้างภูมิ
หลังจากไข้ 1 สัปดาห์ ไข้ลง 1-2 วันแล้วกลับมีไข้ขึ้นอีก
ปวดศีรษะ ไข้ตำๆ คลื่นไส้อาเจียน
คอแข็ง มีการอักเสบขอลเยื่อหุ้มสมอง
มีเชื้อออกมาจากปัสสาวะ
Severe leptospirosis
อาการแสดงที่สำคัญ
ภาวะเยื่อบุตาบวมแดง
กดเจ็บกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงที่น่อง
มีเลือดออกที่ต่างๆ
ผื่น อาการเหลือง
การวินิจฉัย
ประวัติการสัมผัสโรค
จะพบเม็ดเลือกขาวเพิ่ม บางรายอาจมีเกล็ดเลือกต่ำ
พบเม็ดเลือดแดง ไข่ขาวในปัสสาวะ
การตรวจทางภูมิคุ้มกัน ตรวจพบหลังติดเชื้อ 2 สัปดาห์
การพยาบาล
การให้ยาปฏิชีวนะ
การให้ยากันชัก
การให้สารน้ำและเกลือแร่
การให้ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน
การให้ยาแก้ปวด
การให้ยาลดไข้
หากเกล็ดเลือดต่ำหรือเลือดออกง่ายต้องให้เกล็ดเลือดหรือน้ำเหลือง
การแก้ไขภาวะการเต้นของหัวใจผิดปกติ
แก้ไขปัญหาตับวาย ไตวาย
บาดทะยัก
สาเหตุ ติดเชื้อ Bacteria Clostridium ttani
ระยะฟักตัว 7-21 วัน
การวินิจฉัย
ตรวจพบระดับ serum antitoxin titer
พบเชื้อ Clostridium tetani
ผู้ป่วยกัดไม้กดลิ้นจาก reflex spasm ของกล้ามเนื้อขากรรไกร
spatula test
Scrub Typhus
ติดเชื้อแบคทีเรีย Rickettsia tsutsugamushi
ระยะฟักตัวโดยเฉลี่ยประมาณ 10-12 วัน
พาหะ ตัวไรอ่อน หมัด
อาการและอาการแสดง
Classical type
มีไข้สูง
ปวดเมื่อยตามตัว ตาแดง
ปวดศีรษะมาก
แผลคล้ายบุหรี่จี้ ตรงกลางเป็นสะเก็ด
ต่มน้ำเหลืองโต บางรายมีม้ามโต
Mild type
มีไข้
ปวดศีรษะ
ปวดเมื่อยตามตัวบ้าง
อาจพบผื่น ตาแดงเล็กน้อยอาจตรวจไม่พบ Eschar
อาจมีตับโต
Subclinical type
มีไข้เล็กน้อย
อาการไม่แน่นอน
ปวดศีษะและมึนศีรษะบ้าง
การวินิจฉัย
การตรวจทางน้ำเหลือง
การตรวจ Complement-Fixation
การตรวจ IFA
การวินิจฉัยด้วยเทคนิค PCR
ภาวะแทรกซ้อน
โรคตับอักเสบ
ปอดอักเสบ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ภาวะเลือดแข็งตัว
Multi-Organ Failure
Meliodosis
การติดเชื้อ Burkholderia pseudomallei ชนิด Gram neg
รับเชื้อโดยการสัมผัส
ระยะฟักตัว 1-21 วัน โดยเฉลี่ยประมาณ 19 วัน
อาการ
Localized pain
Fever
Ulceration, Cellulitis
Abscess
Transmission
Ingestion
Inoculation
Inhalation
Breast milk
Perinatal
Human to Human
การรักษา/การพยาบาล
Surgical drainage
การให้สารน้ำตามแผนการรักษา
การปฏิชีวนะ
วัณโรค
เชื้อที่เป็นสาเหตุ
M. bovis
M africanum
M. tuberculosisovarhominis
M. microti
อาการ
ไข้ เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย น้ำหนักลด ครั่นเนื้อครั่นตัว
แรกๆ อาจจะไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะ
ไอเสมหะมีเลือดออก
การวินิจฉัย
ประวัติการสัมผัสโรค
การถ่ายรังสีปอด
กาตรวจเสมหะ
การตรวจหาเชื้อวัณโรคด้วยวิธี RNA and DNA amplification
การ Tuberculin test
ยา
Rifampicin
Isoniazid, INH
Ethambutol
Pyrazinamide
Streptomycin
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ปวดท้อง
Drug fever
การออกผื่น
การปฏิบัติ
กินยาตามชนิดและขนาดสม่ำเสมอจนครบกำหนด
เปลี่ยนผ้าปิดจมูกบ่อยๆ
ควรงดสิ่งเสพติด เช่น เหล้า บุหรี่
สวมผ้าปิดจมูก เพื่อป้องกันการแพร่การกระจาย
บ้วนเสมหะลงในภาชนะ
จัดบ้านให้ถ่ายเทสะดวก
นางสาวเข็มทราย มุมทอง รหัส 612501015