Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดต่อ, นางสาวเข็มทราย มุมทอง รหัส 612501015 - Coggle Diagram
โรคติดต่อ
โรคไวรัสอีโบร่า
การแพร่กระจายเชื้อ
การสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำร่างกายจากผู้ติดเชื้อโดยตรง
การสัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน
อาการ
อ่อนแรง
ท้องเสีย
ไข้ ลิ่มเลือดภายใน
เจ็บหน้าอก
ปวดหัว ตาแดง
ปวดท้อง คลื่นไส้อาเจียน
มีผื่น เลือดออก
การวินิจฉัย
การตรวจหา RNA ไวัรส
การตรวจกาโปรตีนโดยวิธีอีไลซา
ภาวะแทรกซ้อน
ดีซ่าน
สับสน
เลือดออกรุนแรง
ชัก
หลายอวัยวะล้มเหลว
โคม่าหมดสติ
ช็อค
การรักษา
รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโตรไลต์เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
การให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม
การป้องกัน
กำตัดไวรัสอีโบล่าด้วยความร้อน
แยกผู้ป่วยและสวมเสื้อผ้าป้องกัน ได้แก่ สวมหน้ากาก ถุงมือ
โรคไข้หวัดใหญ่
อาการ
เจ็บคอ
ไอ
น้ำมูก จาม
ปวดเมื่อย
ไข้
ปวดหัว
อ่อนแรง
การแพร่กระจายเชื้อ
การสัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งต่างๆ ที่ปนเปื้อน
การกระจายสู่คนทางละอองฝอย
สาเหตุ
ติดเชื้อ Influensa virus มี RNA 3 ชนิด A,B,C
ระยะฟักตัวของโรค 1-4 วัน หลังรับเชื้อโรคไข้หวัดใหญ่
ภาวะแทรกซ้อน
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
สมองอักเสบ
ปอดอักเสบ
การพยาบาล
ลดอาการไข้
การล้างมือ
พักผ่อนมากๆ และอยู่ในห้องที่มีอากาศถ่ายเทสะดวก
กินอาหารที่มีปนะโยชน์และย่อยง่าย ควรดื่มน้ำมากๆ
ปิดจมูก ปาก เวลาไอหรือจาม
ควรพบแพทย์และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
ควรหยุดพักงานหรือการเรียนชั่วคราว
ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก
้Hepatitis
้Hepatitis A Virus
เกิดจากเชื้อไวรัสชนิด RNA ติดต่อทางการกิน
สามารถตรวจเชื้อในอุจจาระได้ 2 สัปดาห์
ใช้เวลาฟักตัว 15-50 วัน ติดต่อได้ช่วงครึ่งหลังของการมีในระยะฟักตัว
้Hepatitis B Virus
เกิดจากเชื้อไวรัสชนิด DNA ฟักตัว 6 สัปดาห์ - 6 เดือน
ติดต่อทางเลือด หรือ Serum เช่น การฉีดยา การถ่ายเลือด เพศสัมพันธ์
อาการจะรุนแรงกว่าชนิดอื่นๆ และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
สาเหตุ
การบาดเจ็บที่ตับ
ตับแข็ง ตับวาย
ภาวะตับอักเสบ
มะเร็งตับ
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนเต็มที่
ดูแลให้ได้รับคาร์โบไฮเดรตสูง หลีกเลี่ยงไขมัน
สังเกตอาการไข้ อาการตา ตัวเหลือง อาการที่แสดงภาวะตับวาย
จัดสิ่งแวดล้อมและอาหารที่ไม่กระตุ้นความอยากอาเจียน
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอิเล็กโตรไลต์ทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษา
ติดตามผลการระมัดระวังการแพร่กระจายเชื้อโดยเฉพาะทางเลือด
การให้คำแนะนำกับครอบครัวเกียวกับป้งอกันการติดเชื้อ
เชื้อไขหวัดนก
ยาที่ใช้รักษา
Oseltamivir
Zannamivir
วิธีการป้องกันการระบาด
ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่
คนที่สัมผัสไก่ที่เป็นโรคและมีไข้ต้องกินยาต้านไวรัส
ต้องกำจัดแหล่งแพร่เชื้ออย่างเร่งด่วน
ผู้ที่ทำลายไก่ต้องใส่ชุดเพื่อป้องกันการรับเชื้อ
ต้องมีแอลกอฮอร์สำหรับเช็ดมือ
ต้องมีระบบคัดกรองผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้หวัดนกออกจากผู้ป่วยอื่น
ผู้ป่วยที่มีอาการไข้หรือไอจาม ต้องใช้ทิชชูปิดปากและจมูก
การวินิจฉัย
มีประวัติสัมผัสกับสัตว์ที่เป็นโรค
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ไอ เจ็บคอ หายใจหอบ
การเพาะเชื้อไวรัสจากสารคัดหลั่ง เช่น เสมหะ น้ำมูก
มีไข้มากกว่า 38 องศา
การตรวจสารคัดหลั่งด้วยวิธี PCR
อาการ
บางครั้งอาจพบว่ามีตาแดง
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ อ่อนเพลีย มีน้ำมูก เจ็บคอ
มีไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะ
Covid-19
อาการ
น้ำมูก เจ็บคอ
หายใจเหนื่อย หายใจลำบาก
ไข้ ไอ จาม
การรักษา
Confirmed case ไม่มีอาการ
ให้ดูแลรักษาตามอาการ ไม่ให้ยาต้านไวรัส
แนะนำให้นอนโรงพยาบาล 2-7 วัน
confirmed case with mild symtoms and no risk factor
Chloroquine หรือ hydroxychloroqine
Darunavir + ritonavir
แนะนำให้นอนโรงพยาบาล 2-7
เมื่ออาการดีขึ้นแนะนำให้ไปพักต่อที่โรงพยาบาลเฉพาะ 14 วัน
หากภาพถ่ายปอดแย่ลง ให้พิจราณาเพิ่ม favipiravir เป็นเวลา 5-10 วัน
Confirmed case with mild symtoms and risk factor
แนะนำให้ใช้ยาอย่างน้อย 2 ชนิด นาน 5 วัน
Choloquine หรือ hydroxychloroquine
Darunavir + ritonavir
อาจพิจารณาให้ยาชนิดที่ 3 ร่วมด้วยคือ azithromycin
หากภาพถ่ายปอดแย่ลง ให้พิจราณาเพิ่ม favipiravir เป็นเวลา 5-10 วัน
Confirmed case with pnemonia
แนะนำให้ใช้ยาอย่างน้อย 3 ชนิด นาน 10 วัน ยกเว้น favipiravir
Favipiravir เป็นเวลา 5-10 วัน
Choloquine หรือ hydroxychloroquine
Darunavir + ritonavir
อาจพิจารณาให้ยาชนิดที่ 3 ร่วมด้วยคือ azithromycin
เลือกใช้ respiratory support ด้วย HFNC ก่อนใช้ invasive ventilation
พิจารณาใช้ organ support อื่นๆ ตามความจำเป็น
การแพร่กระจายเชื้อ
เชื้อขับออกทางอุจจาระได้
การขยี้ตา (เชื้อผ่านเยื่อบุตา)
ละอองเสมหะ เป็นช่องทางหลัก
การจำหน่ายผู้ป่วย
การจำหน่ายออกจากโรงพยาบาล
กรณี mild case
เกณฑ์พิจารณาจำหน่าย
อาการดีขึ้นและผลถ่ายภาพรังสีปอดไม่แย่ลง
อุณหภูมิไม่เกิน 37.4 องศา ต่อเนื่อง 48 ชั่วโมง
Respiratory rate ไม่เกิน 20 ครั้ง/นาที
O2 sat room air 95% ขึ้นไปขณะพัก
ย้ายไปหอผู้ป่วยเฉพาะกิจ Covid-19
พักในโรงพยาบาล 2-7 วัน
ออกจากโรงพยาบาลได้โดยไม่ต้องทำ swab ซ้ำกาอนจำหน่าย
การจำหน่ายจาก hospitel
ผู้ป่วยพักใน hospitel จนครบ 14 วัน
กลับไปพักฟื้นที่บ้านจนครบ 1 เดือน ระหว่างนี้รักษาระยะห่าง
แนะนำให้สวมหน้ากากอนามัยและระมัดระวังสุขอนามัย
ออกจาก hospitel ได้โดยไม่ต้องทำ swab ซ้ำก่อนจำหน่าย
MERS-CoV
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ กรณีมีปอดอักเสบ
รักษาตามอาการ
การให้ยาต้านไวรัส
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงการเข้าไปในพื้นที่แออัด หรือที่สาธารณะที่มีคนจำนวนมาก
แนะนำให้ปิดปากและจมูกเวลาไอจาม
ควรล้างมือบ่อยๆด้วยน้ำและสบู่
ปฏิบัติตามหลักสุขอนามัยที่ดี ได้แก่ กินร้อน ช้อนกลาง
หลีกเลี่ยงการสัมผัสใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่มีอาการ ไอ จาม หรือติดเชื้อทางเดินหายใจ
อาการแสดง
ไตวาย ทางเดินหายใจล้มเหลวเฉียบพลันอย่างรุนแรง
บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน
อาจเกิดภาวะปอดอักเสบ
ไข้สูง อาการไอ หายใจหอบ
SARS
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อไวรัสโคโรน่า
จะใช้เวลาประมาณ 2 -7 วันในการฟักตัว
ติดต่อโดยการสัมผัสกับผู้ป่วยโดยเฉพาะของเหลว เช่น น้ำมูก น้ำลาย
อาการ
ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ปวดศีรษะมาก
ไข้สูงมากกว่า 38 องศา
หนาวสั่น
อาการเจ็บคอ ไอแห้งๆ
ปวดบวมอักเสบ
อาการหายใจลำบาก
นางสาวเข็มทราย มุมทอง รหัส 612501015