Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กรอบแนวคิดและ ประเภทของการวิจัย, อ้างอิง, :memo:นางสาวสุทธิดา …
กรอบแนวคิดและ
ประเภทของการวิจัย
:checkered_flag:
กรอบแนวคิดในการวิจัย
Conceptualization
Conceptual framework
องค์ประกอบ
เลือกเขียนเฉพาะตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการวิจัย
ใช้คำบรรยายประกอบแผนภาพ
เขียนแสดงตัวแปรไม่ครบทุกตัว
เขียนอธิบายความสัมพันธ์สอดคล้องเกี่ยวข้อง ของตัวแปรและอธิบายเหตุผลที่ไม่ได้เขียนถึงตัวแปรครบทุกตัว
ขั้นตอนการเขียน
กำหนดขอบเขตการวิจัย
เปลี่ยนชื่อเรื่อง
ทำให้มีตัวแปรควบคุม
ทำให้อยู่ใน inclusion criteria
วิธีการเขียน
ทบทวนเอกสารและวรรณกรรม ให้ครอบคลุม และทันสมัย
สรุปและเขียนว่าความรู้ประเด็นนี้เป็นอย่างไร
มีเกณฑ์ช่วยในการอ่านเพื่อที่นักวิจัย
จะบอกว่าความรู้เรื่องนี้เป็นอย่างไร
ข้อบกพร่อง
การทบทวนวรรณกรรมไม่ดีพอจึง comment ไม่ได้
เขียนเป็นกระบวนการวิจัย
ใช้ theoretical concept มาเขียน
แสดงความสัมพันธ์ไม่ถูกต้อง
Theoretical framework
เขียนแสดงความสัมพันธ์เชื่อมโยงของ
ตัวแปรตามหลักการทางทฤษฎีที่มีอยู่
เขียนครอบคลุมทุกตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
มักเขียนเป็น diagram
องค์ประกอบ
ใช้ความรู้จากทฤษฎีและงานวิจัยที่
เกี่ยวข้องมาใช้ในการเขียน
เขียนแล้วได้เป็นกรอบแนวคิดเชิงทฤษฎี
(Theoretical framework)
กระบวนการสร้างมโนทัศน์จากปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นจริงตามธรรมชาติ
:red_flag:
ประเภทของการวิจัยแบ่งตาม
ประโยชน์ของการนำผลการวิจัยไปใช้
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ
(action research)
ที่มุ่งทำให้เกิดผลที่เป็นพัฒนางานหรืแก้ไขข้อบกพร่องของหน่วยงานและมีความเฉพาะเจาะจง
การวิจัยประยุกต์
(applied research)
เป็นวิจัยที่เป็นไปเพื่อจะนำผลวิจัย
ที่เกิดขึ้นไปใช้ในการทำงานจริง
การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์
(basic or pure research)
ผลจากการวิจัยนี้จะเป็นสูตร กฎ หรืทฤษฎีในการเรียนหรือการวิจัยในสาขานั้นๆต่อไป
:red_flag:
ประเภทของการวิจัยแบ่งตามวัตถุ
ประสงค์และวิธีการเสนอข้อมูล
การวิจัยเชิงอรรถอธิบาย
(explanatory research)
หาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ หรือหาปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปร
การวิจัยเชิงคาดคะเน
(predictive research)
เป็นการวิจัยที่ให้ผลการวิจัยที่บอกสิ่งที่ยังไม่เกิด แต่คาดไว้ว่าจะเกิดอย่างไร
การวิจัยเชิงบรรยาย (descriptive research)
เป็นการวิจัยคล้ายกับแบบสำรวจตรงที่ไม่มีการทดลองในการวิจัยนั้นๆ
แต่สามารถมีการเปรียบเทียบตัวแปร
การวิจัยขั้นสำรวจ (exploratory research)
เป็นการหาคำตอบเกี่ยวกับ
ตัวแปรที่ศึกษาว่าเป็นอย่างไร
จำนวน ร้อยละ มาก-น้อย สูง-ต่ำ
การวิจัยเชิงวินิจฉัย
(diagnostic research)
เป็นการวิจัยเพื่อค้นหาปัญหาหรือสาเหตุของปัญหา
:red_flag:
ประเภทของการวิจัยแบ่งตามความ
สามารถในการควบคุมตัวแปร
การวิจัยเชิงกึ่งทดลอง
(quasi experimental research)
เป็นการวิจัยที่ควบคุมได้บางส่วน
การวิจัยเชิงธรรมชาติ
(naturalistic research)
ไม่ต้องควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนใดๆปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ
การวิจัยเชิงทดลอง
(experimental research)
เป็นการวิจัยที่ควบคุมตัวแปรแทรกซ้อนได้เต็มที่
ปลูกข้าวโพด
ในห้องทดลองที่ควบคุมอุณหภูมิให้เป็น 20 C
:red_flag:
ประเภทของการวิจัย
แบ่งตามระเบียบวิธีการวิจัย
การวิจัยเชิงทดลอง
(experimental research)
มีการทดลอง
การวิจัยเชิงย้อนรอย
(expost facto research)
เป็นการวิจัยที่ศึกษาจากผลไปหาเหตุผลในปัจจุบันเกิดจากเหตุในอดีต เริ่มจากกำหนดผลหรือตัวแปรตามก่อนแล้วค่อยค้นหาสาเหตุ
การวิจัยเชิงบรรยาย
(descriptive research)
ไม่มีการทดลองใดๆในการวิจัย ศึกษาสิ่งที่เกิดขึ้นอยู่ในปัจจุบัน
การวิจัยเชิงสำรวจ
(survey research)
หาคำตอบเกี่ยวกับตัวแปรว่ามีคุณลักษณอย่างไร
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
(historical research)
ศึกษาว่าในอดีตเกิดอะไรขึ้น ปัจจุบันเป็นอย่างไร
หาความสัมพันธ์ตัวแปรบางตัวในอดีตกับปัจจุบัน
เพื่อทำนายว่าอนาคตจะเป็นอย่างไรหรือบุคคลสำคัญนั้นถูกเลี้ยงดูมาอย่างไรตั้งแต่วัยเด็ก
การวิจัยเชิงประเมินผล
(evaluative research)
ประเมินว่า contextคือบริบทของงานที่ประเมิน
เป็นอย่างไรวัตถุประสงค์กับปัญหาสอดคล้องกันไหม
:red_flag:
ประเภทของการวิจัย
แบ่งตามลักษณะของข้อมูล
การวิจัยเชิงคุณภาพ
(qualitative research)
การวิจัยแบบผสม
(mixed methods)
แบบคู่ขนาน
แบบตามลำดับก่อน-หลัง
การวิจัยเชิงปริมาณ
(quantitative research)
:red_flag:
แบ่งตามวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยจากเอกสาร
(Documentary research)
เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารแล้วเสนอผลในเชิงวิเคราะห์
การวิจัยจากการสังเกต
(Observation research)
เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต
การวิจัยแบบสำมะโน
(Census research)
เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากทุกๆหน่วยของประชากร
การวิจัยแบบสำรวจจากตัวอย่าง
(Sample survey research)
เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง
การศึกษาเฉพาะกรณี
(Case study)
เป็นการศึกษาเรื่องที่สนใจในขอบเขตจำกัดหรือแคบ ๆ และใช้จำนวนตัวอย่างไม่มากนัก แต่จะศึกษาอย่างลึกซึ้งในเรื่องนั้น ๆ
การศึกษาแบบต่อเนื่อง
(Panel study)
เป็นการศึกษาที่มีการเก็บข้อมูลเป็นระยะ ๆ เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลาของกลุ่มตัวอย่าง
การวิจัยเชิงทดลอง
(Experimental research)
เป็นการวิจัยที่ผู้วิจัยเก็บข้อมูลมาจากการทดลอง ซึ่งเป็นผลมาจากการกระทำโดยมีการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้
:red_flag:
ประเภทของ
QUALITATIVE STUDY
การวิจัยปรากฏการณ์
(Phenomenology study)
อธิบายตัวแปรว่าคืออะไร โดยใช้ประสบการณ์ของผู้ให้ข้อมูลที่เคยมีประสบการณ์เรื่องนั้น
การวิจัยทฤษฎีฐานราก
(Grounded theory)
สร้างทฤษฎีจากข้อมูลที่พบ
การวิจัยชาติพันธุ์วรรณนา
(Ethnographic study)
หาความจริงโดยการเป็นส่วนหนึ่งของเรื่องที่ศึกษา
ไม่ใช่การศึกษาที่ ฉาบฉวย ผิวเผิน แต่ใช้เวลาหรือ
ฝังตัวอยู่ในพื้นที่ที่ศึกษา
:star:
งานวิจัยที่ควรรู้จัก
R2R (routine to research)
ทำงานประจำตามปกติ แล้วพบ
ปัญหา/จุดอ่อนในการทำงาน
หาวิธี(treatment) มาแก้ไขปัญหา
แล้วจึงเปรียบเทียบผลก่อน-หลัง
PAR (participatory action research)
มักเป็นวิจัยที่ทำเพื่อพัฒนาชุมชน ให้คนในชุมชนร่วมทำวิจัยเริ่มตั้งแต่กำหนดปัญหาไปจนจบ ทำให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชน และเป็นการพัฒนาที่เกิดขึ้นจริง
R&D (research and development)
ทำการวิจัยหลายขั้นตอน เริ่มจากทำ research ดูว่าสถานการณ์ที่เกี่ยวกับปัญหานั้นเป็นอย่างไรบ้าง และนำผลของขั้นแรกมาออกแบบหลังจากนั้นก็นำที่ออกแบบไว้มาใช้
Systematic review, meta-analysis, research synthesis
ไม่เก็บข้อมูลภาคสนาม แต่ใช้งานวิจัยที่มีอยู่แล้วเก็บข้อมูลจากงานวิจัยเหล่านั้น หลังจากนั้นทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์เป็นความรู้ใหม่
อ้างอิง
เยาวลักษณ์ มีบุญมาก.(2563).
บทที่ 4 ประเภทของการวิจัย
วันที่สืบค้น 4 พฤษภาคม 2563.เข้าถึงได้จาก
https://classroom.google.com/u/2/w/NzAyOTc0MDcwODBa/tc/OTc0ODIzMTY4NzVa
:memo:นางสาวสุทธิดา ศรียลักษณ์ เลขที่ 41 ห้อง 2 รุ่น 36/2