Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 .1 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ - Coggle Diagram
บทที่ 5 .1
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาการติดเชื้อ
โรคหัดเยอรมัน
(Rubella)
ไข้ออกผื่น ไม่รุนแรงในเด็ก แต่ส้าคัญ สตรีตั้งครรภ์เป็นโรคหัดเยอรมันในระยะเริ่มตั้งครรภ์ได้ 3-4 เดือน เชื้อไวรัสผ่านไปทารกในครรภ์
ทำให้เกิดความพิการทางหู ตา หัวใจ สมอง
การให้วัคซีนกับทุกคนในประเทศจึงเป็นการลดการระบาดของโรคหัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
เจ็บคอ, คอแดงเล็กน้อย, มีผื่นอย่างน้อย 1-2 วันมีไข้ต่ำๆ (37.5 ºC)
ปวดศีรษะ, อ่อนเพลีย, มีน้้ามูก,เจ็บคอ, คอแดง, เยื่อบุตาอักเสบ
ถ้ามีไข้สูง (39 ºC) วิงเวียน เบื่ออาหาร หนาวสั่น น้้ามูกไหล คอแดง เจ็บคอ เยื่อบุตาแดงอักเสบ ปวดศีรษะ
หลังจากนั้น 4-5 วันอาจจะมีอาการทางระบบประสาทร่วมด้วย เช่น ตะคริว ปวดศีรษะ อ่อนแรงอัมพฤกษ์
การวินิจฉัยโรค
แยกเชื้อไวรัสจากน้้ามูก swab จากคอ เลือดปัสสาวะ และน้้าไขสันหลัง
แยกผู้ป่วยครบ 7 วันหลังผื่นขึ้น ใน Congenital rubella อาจมีเชื้อได้นานถึง 1 ปี
ติดตามตรวจเชื้อไวรัสใน Nasophalynx และในปัสสาวะเมื่ออายุ 3-
6 เดือน แล้วไม่พบเชื้อ
ให้วัคซีนป้องกัน
การพยาบาล
การแยกเด็กแบบ Respiratory Isolation ตั้งแต่มีอาการถึง 5-7 วันหลังผื่นขึ้น
เช็ดตัวลดไข้
ดูแลทั่วไปๆ ผิวหนัง ตา หู ปากฟัน และจมูก
ระยะไข้สูง ให้อาหารอ่อน หรืออาหารเหลว ดื่มน้้ามากๆ
สังเกตอาการแทรกซ้อนอื่นๆ
โรคหัด
(Measles/Rubeola)
สาเหตุ: เชื้อไวรัส (Parayxovirus)
ระยะฟักตัว: ประมาณ 10 วันหลังจากได้รับเชื้อจนกระทั่งมีไข้หรือประมาณ 14 วัน จนกระทั่งปรากฏผื่น
ระยะติดต่อ
ประมาณ 8-12วัน คือ 4 วันก่อนผื่นขึ้นจนถึง4วัน
หลังผื่นขึ้น
ติดต่อทางอากาศและสัมผัสปีน้้ามูกน้้าลายหรือเสมหะของ
ผู้ป่วย
การระบาดของโรค
ตลอดทั้งปี วัยเด็กมักเป็นโรคหัดอายุ 1-7 อายุน้อยกว่า 6 เดือนไม่พบว่าเป็นโรคหัด
อาการการ
ไข้สูง อ่อนเพลีย ไอ น้้ามูกน้้าตาไหล เยื่อบุตาอักเสบ
กลัวแสง หนังตาบวม ทอนซิลโตและแดง
Koplick’s spot ลักษณะเม็ด
ขาวเล็กๆขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบนเยื่อบุกระพุ้งแก้ม
ที่แดงจัดหายไปหลังผื่นขึ้นประมาณ 2 วัน
ระยะออกผื่น
ประมาณ 3-5 วัน หลังจากเป็นไข้
(T=39.5-40.5 ºC) ตาแดงจัด ผื่น
เริ่มจากหลังใบหูและโคนผม
ที่ต้นคอ ใบหน้า ล้าตัว แขน ขา ต่อมน้้าเหลือง ม้ามโต
ระยะผื่นจางหาย
ประมาณ 5-8 ไข้เริ่มลดลงหายไปภายใน 2-3 วัน
อาจมีอาการไอ เมื่อผื่นถึงเท้าจะจางหายไป เหลือเป็นรอยสีคล้ำ
โรคแทรกซ้อน
สมองอักเสบ ปอดอักเสบหูชั้นกลางอักเสบ เยื่อบุตาอักเสบ
ล้าไส้อักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ
การรักษา
เป็นโรคที่หายได้เอง ไม่มีโรคแทรกซ้อน ไม่มีความจ้าเป็น
ให้ยาต้านจุลชีพ
ให้พักผ่อน ยาลดไข้ ให้น้้าเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ถ้าติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ ต้องให้ยาจุลชีพที่เหมาะสม
การป้องกัน
ให้วัคซีน Gamma globulinฉีดเข้ากล้ามเนื้อภายใน 5 วันหรือน้อยกว่า 6 วันหลังจากได้รับเชื้อ
ให้ในเด็กเล็ก เด็กที่เจ็บป่วยเรื้อรัง หญิงมีครรภ์และผู้มีอิมมูนพร่องอยู่นาน 3-6 สัปดาห
โรคคอตีบ
(Diphtheria)
แบคทีเรียโรคติดเชื้อเฉียบพลันเกิดการอักเสบ
มีการตีบตันของทางเดินหายใจอาจท้าให้ถึงตาย
พบในคนเท่านั้น ในจมูกหรือลำคอ
โดยไม่มีอาการติดต่อกันทางไอ จามรดกัน
พูดคุยระยะใกล้ชิด เชื้อเข้าทางปากหรือการหายใจ
ใช้ภาชนะร่วมกัน
ระยะฟักตัว 2-5 วัน อาจอยู่ได้ 2 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง
ไข้ต่ำๆอาการคล้ายหวัด ไอเสียงก้อง
เจ็บคอรุนแรง เบื่ออาหารต่อมน้ำเหลืองที่คอโต
และบริเวณรอบๆรุนแรง คอบวม “Bullneck”
คอพบแผ่นเยื่อสีขาวปนเทาติดอยู่บริเวณทอนซิล ลิ้นไก่
การวินิจฉัย ตรวจแผ่นเยื่อในล้าคอ โดยใช้ Throat swab
การรักษา
รีบน้าส่งโรงพยาบาล รักษาโดยเร็ว
โรคสุกใส
(Chickenpox / Vericella)
pox / Vericella)
สาเหตุ: เชื้อไวรัส
ขึ้นบริเวณหนังศีรษะ ใบหน้า คอ และเยื่อบุช่องปากก่อนแล้วจึงลามไปที่แขนขา
กระจายแบบ Centripetal
ผื่นมักจะอยู่บริเวณล้าตัว ใบหน้า มากกว่าแขนขา
ระยะฟักตัว: ประมาณ 10-21 วัน
อาการนำ
มีไข้ต่ำๆพร้อมกับผื่น อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ เบื่ออาหาร 1-2 วัน ปวดท้องเล็กน้อย
ลักษณะผื่น
เริ่มจากจุดแดงราบ (macule) ขนาด 2-3 mm.
เปลี่ยนเป็นตุ่มนูน (papule) อย่างรวดเร็วภายใน 8-12 ชั่วโมง
ตุ่มน้้าใส (vesicle) ต่อมาเป็นตุ่มหนอง (pustule) แห้งตกสะเก็ด
(crust)
ลักษณะเฉพาะ
พบผื่นระยะต่างๆในเวลาเดียวกัน
โรคแทรกซ้อน
การติดเชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนัง
ปอดอักเสบ ข้ออักเสบ กระดูกอักเสบ
สมองอักเสบ
Hemorrhagic chickenpox: เกล็ดเลือดต่้า เลือดออกทางเดินอาหารเลือดก้าเดาไหล
การวินิจฉัย: ขูดพื้นขอตุ่มใสมาสเมียร์บนสไลด์
การป้องกัน
ระยะแพร่เชื้อ
เริ่มตั้งแต่ 24 ชม.ก่อนที่ผื่นขึ้นจนถึงตุ่มแห้งหมดแล้ว
ควรให้ผู้ป่วยอยู่ในห้องแยก strict isolation ควรหยุดเรียน
การรักษา
ยาต้านไวรัส คือ Acyclovir (Zovirax) ทั้งชนิดกินและ
ทา
ชนิดฉีดให้ 200 mg 5 dose/day ทุก 4 ชั่วโมง เป็นเวลา 5 วัน
การพยาบาล
แยกเด็กใช้ dermapon ฟอก
หรือให้คาลาไมน์โลชั่นทาหลังอาบน้้า
ให้ยา Antihistamine
ตัดเล็บมือให้สั้น ใส่ถุงมือให้เด็กเล็ก
อาหารธรรมดา
สังเกตภาวะแทรกซ้อน
วัคซีนป้องกันโรคสุกใส
ถ้าสัมผัสโรคไม่เกิน 3 วัน ป้องกันโรคได้กว่า90%
โรคคางทูม
(Mumps)
เชื้อไวรัส Paramyxovirus
ไอ จาม หายใจรดกัน 1-2 วัน ก่อนเริ่มมีอาการจนถึง 9 วัน
หลังจากต่อมน้้าลาย paratid เริ่มบวม
ระยะฟักตัว: 12-25 วัน
อาการ
ไข้ ครั่นเนื้อครั่นตัว อ่อนเพลีย ขากรรไกรบวมแดงปวด ร้าวไปที่หู
ขณะกลืน เคี้ยว และอ้าปาก อาการบวมจะค่อยๆยุบหายไปใน 7-10 วัน
โรคแทรกซ้อน
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ พบน้อย
หูชั้นในอักเสบ ไตอักเสบ
ลูกอัณฑะอักเสบ
การรักษา
รักษาตามอาการ: ให้นอนพัก ดื่มน้้ามากๆ เช็ดตัวลดไข้ ให้ยาลดไข้
ลูกอัณฑะอักเสบ: ให้ prednisolone 1 mg/kg/day
แยกผู้ป่วย 9 วัน หลังเริ่มมีอาการบวมของต่อมน้้าลาย
ให้วัคซีนป้องกันคางทูม