Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
3.5กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงค…
3.5กฎหมายสาธารณสุขอื่นที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ระเบียบกระทรวงสาธารณะสุข
ข้อจำกัดและเงื่อนไขในการรับมอบหมายให้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การรักษาพยาบาลอื่น
การให้น้ำเกลือ
การฉีดเซรุ่ม
การสวนปัสสาวะ
การสวนล้างกระเพาะ
ด้านศัลยกรรม
ผ่าฝี
เย็บแผล
ทำแผล
ด้านอายุรกรรม ให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้นเพื่อบรรเทาอาการ
ด้านสูตินรีเวชกรรม
ทำคลอดปกติ
ช่วยเหลือขั้นต้นในราบที่ผิดปกติ
ช่วยเหลือกรณ๊แท้งหรือหลังแท้ง
การฉีดวัคซีน
การวางแผนครอบครัว
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ขั้น 1 ประกอบวิชาชีพเวชกรรม วางแผนครอบครัว ใส่ถอดห่วงอนามัยได้
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลขั้น 1 ขั้น 2 ผู้ช่วยพยาบาล จิตเวช ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ขั้น 1 ขั้น 2 ที่ผ่านการอบรมหลักสูตร
ผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลหรือประกอบวิชาชีพการพยาบาลผดุงครรภ์ที่ผ่านการอบรมเกี่ยวกับก่รผ่าตัดทำหมันหญิงคลอด ใส่ถอดฝังคุมกำเนิดแล้วแต่กรณี
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ อบรมหลักสูตรวิสัญญีพยาบาล ทำการให้ยาสลบเฉพาะ gerneral anesthesia อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่
บุคคลที่ผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรบในหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์ทำการประกอบวิชาชีพได้
บุคคลที่ผ่านการอบรมหลักสูตรการผดุงครรภ์โบราณของกระทรวงสาธารณสุขทำการรับฝากครรภ์และทำคลอดในรายปกติได้
อาสาสมัครประจำหมู่บ้านที่ผ่านการอบรม ได้รับหนังสือรับรองจากกระทรวงสาธารณสุขและแต่งตั้งให้เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมและใช้ยาได้
ให้อาสาสมัครของสมาคมที่ผ่านการอบรมและได้หนังสือรับรองจากกระทรวงสาธารณสุข และแต่งตั้งให้เป็นอาสาสมัครของสมาคมอยู่ทำการจ่ายยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีตราของสมาคมประทับที่แผงยาได้
การใช้ยาตามบัญชียา บุคคลที่ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรม ต้องไม่เกินรายการบัญชียาสามัญประจำบ้านตามกฎหมายว่าด้วยยา รายการยาสถานีอนามัยและรายการสมุนไพรสำหรับงานสาธารณสุขมูลฐาน
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
ให้การรักษากาารพยาบาลเบืื้องต้น ตามวิธีการที่กำหนดไว้ในแบบเรียนของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อบรรเทาโรค ไข้ ปวด ผื่นคัน เหน็บชา
ให้การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับแผล กระดูกหัก ข้อ ไฟไหม้ จมน้ำ การรับสารพิษ
เจาะโลหิตเพื่อตรวจหาเชื้อไข้จับสั่น การใช้ยา ให้ยา
ยาสามัญประจำบ้าน
ยาสั่งจ่ายเฉพาะราย
ยาสมุนไพรที่กำหนดในแบบเรียนของกระทรวงสาธารณสุข
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541
การควบคุมสถานพยาบาลเพื่อต้องการควบคุมสถานที่ทำการตรวจรักษาโรคให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ถูกสุขลักษณะ เพื่อสวัสดิภาพและความปลอดภัยของประชาชนโดยยกเลิกพ.ร.บ.ฉบับเดิมคือ ฉบับพ.ศ.2540
คำจำกัดความ
มาตรา 4 สถานพยาบาล
สถานที่รวมตลอดถึลยานพาหนะซึ่งจัดไว้เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมาย ว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะการประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรมการประกอบวิชาชีพพยาบาลและการผดุงครภ์ วิชาชีพทันตกรรม
ผู้ป่วย
ผู้ขอรับบริการในสถานพยาบาล
ผู้รับอนุญาต
ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบกิจการสถานพยาบาล
ผู้ดำเนินการ
ผู้ได้รับใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ประกอบโรคศิลปะ พยาบาล ผดุงครรภ์ ทันตกรรม เภสัชกรรมหรือวิชาชีพอื่นที่กำหนดในพระราชกิจจานุเบกษา
สถานพยาบาล
1.สถานพยาบาลประเภทไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน รักษาเฉพาะผู้ป่วยไป-กลับ เช่นคลินิก
2.สถานพยาบาลประเภทรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน เช่นโรงพยาบาล
การขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
อายุไม่ต่ำกว่า20ปี
อาศัยในประเทศไทย
ไม่เคยได้รับโทษจำคุก เว้นแต่เป็นโทษความผิดโดยประมาท ความผิดลหุโทษ
ไม่เป็นโรคที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ คนเสมือนไร้ความสามารถ
หน้าที่ของผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ต้องแสดงใบอนุญาตในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่ายในสถานพยาบาล
ต้องแสดงไว้ในที่เปิดเผย
ชื่อสถานพยาบาล
รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรมในสถานพยาบาลนั้น
อัตราค่ารักษาพยาบาล
สิทธิของผู้ป่วย
การย้ายสถานพยาบาลต้องดำเนินการเช่นเดียวกับการขออนุญาตประกอบกิจการใหม่
ถ้าประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาล ต้องแจ้งเแ็นหนังสือและทำรายงานที่จะปฎิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยให้ทราบล่วงหน้าอย่างน้อย 15 วัน
ต้องปฎิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตให้ปฎิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งในการเลิกกิจการเพื่อประโยชน์และส่วนได้ส่วนเสียของผู้ป่วยในสถานพยาบาล
ถ้าพ้นจากหน้าที่หรือไม่สามารถปฎิบัติหน้าที่ได้เกินเจ็ดวันผู้รับอนุญาตอาจมอบหมายให้บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามวันนับแต่วันที่เข้าดำเนินการแทน
ถ้ามีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้รับอนุญาตทราบภายในสามสิบวันตั้งแต่วันที่มีการเปลี่ยนนั้น
ต้องไม่เรียกเก็บเงินหรือยินยอมให้มีการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาลหรือค่าบริการอื่นเกินอัตราที่ได้แสดงไว้และต้องให้การบริการแก่ผู้ป่วยตามสิทธิที่แสดงไว้
อายุใบอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
มีอายุถึงสิ้นปีปฎิทินของปีที่สิบนับตั้งแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
การขอต่ออายุใบอนุญาตต้องยื่นคำขอก่อนหมดอายุ เมื่อได้ยื่นขอต่ออายุแล้ว ผู้รับอนุญาตยังประกอบกิจการสถานพยาบาลต่อไปได้จนกว่าผู้อนุญาตจะสั่งไม่อนุญาตให้ต่ออายุ
การขออนุญาตดำเนินการสถานพยาบาล
ผู้ขอรับใบอนุญาตให้ดำเนินการสถานพยาบาลต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังนี้
1.เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะหรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม ผดุงครรภ์ ทันตกรรม ขึ้นอยู่กับว่าสถานพยาบาลนั้นเป็นสถานพยาบาลประเภทใด
2.ต้องไม่เป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลอยู่ก่ินแล้วสองแห่ง ถ้าเป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนแห่งหนึ่งแล้ว จะเป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลที่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนอีกแห่งไม่ได้ แต่ขิใบอนุญาตดำเนินการสถานพยาบาลไม่รับผู้ป่วยค้างคืนอีกแห่งหนึ่งได้
3.ต้องเป็นผู้ที่สามารถควบคุมดูแลกิจการสถานพยาบาลได้โดนใกล้ชิด
หน้าที่ของผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
2.ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการรับผู้ป่วยไว้ค้่งคืนเกินจำนวนเตียงที่กำหนด
3.ควบคุมดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายวิชาชีพ
1.ต้องควบคุมดูแลมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลที่ตนได้รับอนุญาตประกอบวิชาชีพผิดสาขาที่ได้รับอนุญาต และต้องควบคุมดูแลมิให้ผู้อื่นซึ่งไม่ใช่ผู้ประกอบอาชีพมาประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลที่ตนดำเนินการ
4.ควบคุมดูแลสถานพยาบาลให้สะอาดเรียบร้อย ปลอดภัย เหมาะสม
หน้าที่ร่วมกันของผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
2.ต้องจัดให้มีเครื่องมือ เครื่องใช้ ยาและเวชภัณฑ์ที่จำเป็นประจำสถานพยาบาลตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
3.จัดให้มีรายงานหลักฐานเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล ผู้ป่วยและเอกสารอื่นเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตามเกณฑ์ ตามเงื่อนไขที่กฎกระทรวงกำหนด ต้องเก็บรักษาไว้ให้อยู่ในสภาพที่ตรวจสอบได้
1.ต้องจัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลตามวิชาชีพและจำนวนที่กำหนดในกฎกระทรวง
4.ควบคุมและดูแลสถานพยาบาลตามมาตรฐานตามที่รัฐมนตรีประกาศ
5.ดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยซึ่งอยู่ในสภายอันตรายและจำเป็นต้องรักษาโดยฉุกเฉิน
6.ดูแลมิให้มีการใช้หรือยินยอมให้ผู้อื่นใช้สถานพยาบาลประกอบกิจการผิดประเภท ตามที่ระบุไว้ในใบอนุญาต
7.ควบคุมมิให้โฆษณาหรือยินยอมให้ผู้อื่นโฆษณาชื่อที่ตั้งหรือกิจการสถานพยาบาล เพื่อชักชวนให้มีผู้มาขอรับบริการจากสถานพยาบาลของตนโดยโอ้อวดเกินจริง
8.ไม่ยินยอมให้ผู้อื่นนำหลักฐานเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาล เอกสารแสดงการตรวจโรค ผลการรักษาเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลอันเป็นเท็จ
โทษ
การปิดสถานพยาบาลชั่วคราว
2.ผู้รับอนุญาตละเว้นการกระทำจนเป็นเหตุให้ผู้อยู่ในสถานพยาบาลหรือผู้ที่อยู่ใกล้เคียงรับความเดือดร้อนหรือเป็นอันตราย
3.สถานพยาบาลไม่แก้ไขปรับปรุงการประกอบกิจการ เครื่องมือ เครื่องใช้ ยาและเวชภัณฑ์ ตามระยะเวลาที่กำหนด
1.ผู้รับอนุญาตไม่ชำระค่าธรรมเนียมตามเวลาที่กำหนด
4.ผู้รับอนุญาตปฎิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติ และพนักงานเจ้าหน้าที่ได้สั่งให้ผู้รับอนุญาตแล้วแต่กรณี ระงับการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องนั้นภายในเวลาที่เห็นสมควร แต่ผู้รับอนุญาตไม่ปฏิบัติตามเวลาที่กำหนด
โทษทางอาญา
1.ไม่แสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผย ไม่มีชื่อสถานพยาบาล ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพ ไม่แจ้งอัตราค่ารักษาพยาบาลและไม่แจ้งสิทธิผู้ป่วย มีโทษปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
2.ไม่จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพ เครื่องมือ เครื่องใช้ ยาเวชภัณฑ์ ไม่จัดทำรายงานการรักษาพยาบาล ไม่ควบคุมดูแลสถานพยาบาลตามกฏกระทรวง มีโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือปรับไม่เกินสองหมื่นบาทหรือทัี้งจำทั้งปรับ
3.ไม่ช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะอันตรายและไม่ช่วยเหลือเพื่อส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีความเหมาะสมตามความจำเป็นของผู้ป่วย มีโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
4.โฆษณาสถานพยาบาลอันเป็นเท็จหรือเกินจริงก่อให้เกิดความเข้าใจผิดมีโทษปรับไม่เกินสองหมื่นบาทและปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทนับตั้งแต่วันที่ฝ่าฝืนจนกว่าจะระงับการโฆษณานั้น
5.จัดทำหลักฐานค่ารักษาพยาบาลหรือเอกสารแสดงผลการรักษาพยาบาลอันเป็นเท็จมีโทษจำคุกไม่เกินสองปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์กับพระราชบัญญัติสถานพยาบาลพ.ศ.2541ตามพระราชบัญญัติผู้ประกอบวิชาชีพพยาบาลมีบทบาทดังนี้
1.ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิโดยคำแนะนำของสภาการพยาบาล
2.ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
3.ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
4.ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทต่างๆดังนี้
1.คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์ให้การพยาบาลด้านการพยาบาลการดูแลมารดาทารกก่อนและหลังคลอด ยกเว้นทำการคลอด
2.สถานพยาบาลการผดุงครรภ์ให้บริการมารดาทารกก่อนคลอดและหลังคลอด การคลอดปกติการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสามารถรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนไม่เกิน30เตียง
3.สถานพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรังให้บริการผู้ป่วยเรื้อรังโดยวิธีการทางการพยาบาลซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้ประกอบวิชาชีพตามบทบาทหน้าที่
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ. 2523
โรคติดต่อ
โรคซึ่งรัฐมนตรีประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นโรคติดต่อและให้ความหมายรวมถึงโรคซึ่งรัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นโรคติดต่อ
โรคติดต่อต้องแจ้งความ
โรคติดต่อซึ่งรัฐมนตรีประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นโรคติดต่อต้องแจ้งความและให้หมายความรวมถึงโรคติดต่อซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศไว้ให้เป็นโรคติดต่อต้องแจ้งความ
พาหะ
คนหรือสัตว์ซึ่งไม่มีอาการของโรคติดต่อปรากฎแต่ร่างกายมีเชื้อโรคนั้นซึ่งอาจติดต่อถึงผู้อื่นได้
ผู้สัมผัสโรค
คนซึ่งได้ใกล้ชิด คน สัตว์ หรือสิ่งขิง ติดโรค จนเชื้อโรคน้้นอาจติดต่อถึงผู้อื่นได้
ระยะฟักตัวของโรค
ระยะเวลาตั้งแต่เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายจนถึงเวลาที่ผู้ติดโรคแสดงอาการป่วยของโรคนั้น
ระยะติดต่อของโรค
ระยะเวลาที่เชื้อโรคสามารถแพร่กระจายจากคนหรือสัตว์ที่มีเชื้อโรคไปยังผู้อื่นได้
แยกกัก
การแยกผู้สัมผัสโรคหรือพาหะออกไว้ต่างหากจากผู้อื่นในเอกเทศและตามภาวะอันจะป้องกันมิให้เชื้อโรคแพร่หลายโดยทางตรงหรือทางอ้อมไปยังผู้ซึ่งอาจได้รับเชื้อโรคนั้นๆได้จนกว่าจะพ้นระยะติดต่อของโรค
กักกัน
การแยกผู้สัมผัสโรคหรือพาหะให้อยู่ในที่เอกเทศจนกว่าจะพ้นระยะฟักตัวของโรคนั้นๆหรือจนกว่าจะพ้นความเป็นพาหะ
คุมไว้สังเกต
การควบคุมดูแลผู้สัมผัสหรือพาหะโดยไม่กักกัน อาจจะถอนอนุญาตให้ผ่านไปในที่ใดๆก็ได้ โดยมีเงื่อนไขว่า เมื่อไปถึงท้อองที่กำหนด ผู้นั้นต้องแสดงตัวต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขประจำท้องที่นั้นเพื่อรับการตรวจ
เขตติดโรค
ท้องที่หนึ่งในหรือนอกอาณาจักรที่มีโรคติดต่อเกิดขั้นตามที่รัฐมนตรีหรือผู็ว่าราชการจังหวัดประกาศในท้องที่นั้นๆเป็นเขตติดโรค
พาหนะ
ยาน สัตว์ หรือวัตถุซึ่งใช้ในการขนส่งคน สัตว์หรือส่งของทางบกทางน้ำหรือทางอากาศ
เจ้าของพาหนะ
ผู้รับผิดชอบในการควบคุมพาหนะ
ผู้เดินทาง
คนซึ่งเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรรวมทั้งผู้ควบคุมพาหนะและคนประจำพาหนะ
การสร้างภูมิคุ้มกันโรค
การกระทำทางการแพทย์โดยวิิธีใดๆก็ตามต่อคนหรือสัตว์เพื่อให้คนหรือสัตว์นั้นเกิดอำนาจต้านทานโรค
กฎหมายกำหนดกฎเกณฑ์ในกาารป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ดังนี้
2.ถ้าหากปรากฏว่ามีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักรรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมายมีอำนาจประกาศใ้ห้ท้องที่หรือเมืองท่าในต่างประเทศนั้นๆเป็นเขตติดต่อ
3.ค่าใช้จ่ายต่างๆที่ต้องปฎิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ
1.กำหนดให้ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมืองตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมืองเป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศไม่ว่าจะเป็นโรคติดต่ออันตรายหรือไม่
โทษ
2.ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามประกาศหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุขเมื่อมีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคติดต่ออันตรายขึ้นในบ้าน โรงเรือน สถานที่หรือยานพาหนะ หรือฝ่าฝืนเข้าไปในเขตติดโรคมีโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
3.ถ้าเจ้าของยานพาหนะไม่ปฎิบัติตามคำสั่งของพนักงานสาธารณสุขเมื่อมีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้นในท้องที่หรือเมืองท่าในต่างประเทศแล้วรัฐมนตรีประกาศให้เป็นเขตติดโรค โดยไม่จอดยานพาหนะ ณ สถานที่ที่กำหนดให้จนกว่าเจ้าพนักงานสาธารณสุขจะอนุญาตให้ไปได้มีโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งปีปรับไม่เกินห้าหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
บุคคลใดไม่แจ้งต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขเมื่อมีโรคติดต่ออันตรายหรือโรคติดต่อต้องแจ้งความเกิดขึ้นหรือมีเหตุสงสัยว่าได้มีโรคติดต่อเกิดขึ้นมีโทษปรับไม่เกินสองพันบาท
ผู้ประกอบวิชาชีพอาจมีบทบาท ดังนี้
1.แจ้งความโรคติดต่อเมื่อพบหรือสงสัยว่าผู้มารับบริการป่วยด้วยโรคติดต่ออันตราย ผู้ประกอบวิชาชีพซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบต้องแจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขภายใน 24 ชม. นับตั้งแต่สงสัย
2.ผู้ควบคุมการระบาดของโรคเมื่อมีผู้ป่วยโรคติดต่ออยู่ในความดูแล ต้องให้ความสำคัญต่อการควบคุมการแพร่ระบาดของโรค การแยกผู้ป่วย การเฝ้าดูอาการเมื่อสงสัย เคร่งครัดต่อมาตรการการป้องกัน
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558
ประโยชน์ในการป้องกันและครอบคลุม
ช่องทางการเข้าออกในราชอาณาจักรให้ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
การสร้างภูมิคุ้มกันโรค
ชื่อและอาการสำคัญของโรคติดต่ออันตรายและที่ต้องเฝ้าระวัง
การควบคุมโรคติดต่อประจำด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศมีอำนาจหน้าที่ ดังนี้
ให้เจ้าของพาหนะแจ้งกำหนดวัน เวลา และสถานที่ที่พาหนะนั้นๆจะเข้ามาถึงด่าน ต้องติดต่อเจ้าพนักงานควบคุมโรคติดต่อประจำด่าน
ให้เจ้าของพาหนะยื่นเอกสารต่อเจ้าพนักงานประจำด่าน
ห้ามผู้ใดเข้าไหรือออกพาหนะที่เดินทางเข้ามายังไม่ได้รับการตรวจจากเจ้าพนักงานและห้ามให้พาหนะอื่นเข้าเทียบเว้นแต่ได้รับอนุญาต
ควบคุมให้เจ้าของพาหนะดูแลสุขาภิบาลพาหนะให้ถูกสุขลักษณะ
ห้ามเจ้าของยานพาหนะนำผู้ไม่ได้รับการสร้างภูมิคุ้มกันเขามาในราชอาณาจักร
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2545
บริการสาธารณสุข
บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขโดยตรงแก่บุคคลเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ
สถานบริการ
สถานบริการสาธารณสุขของรัฐ เอกชน สภากาชาด
หน่วยบริการ
สถานที่ที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้
เครือข่ายหน่วยบริการ
หน่วยบริการที่รวมตัวกัน
ค่าบริการ
เงินที่จ่ายให้กับหน่วยบริการ
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา 5 ทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุข
มาตรรา 6 มีสิทธิในมาตรา5ลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการประจำ
มาตรา 38 จัดตั้งกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติมีส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข
มาตรา 42 กรณีผู้รับบริการได้รับความเสียหายที่เกิดจากการรักษา เมื่อได้จ่ายเงินช่วยเหลือผู้รับบริการแล้วมีสิทธิไล่เบี้ย
มาตรา 60 ในกรณีกระทำผิดร้ายแรงหรือเกิดซ้ำ พิจารณาถอนการขึ้นทะเบียยน ดำเนินดารตามกฎหมาย ดำเนินการทางวินัยแก่ผู็บริหาร
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา 5 บุคคลมีสิทธิดำรงตนในสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา 6 สุขภาพของหญิงมีความซับซ้อนต้องได้รับการสร้างเสริมและคุ้มครอง เด็ก คนพิการ คนสูงอายุอย่างเหมาะสมด้วย
มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพเป็นความลับส่วนบุคคลจะนำไปเแิดเผยไม่ได้เว้นแต่เป็นวัตถุประสงค์ของบุคคล
นางสาวกนกภรณ์ สุวรรณมาลี 36/1 เลขที่ 4 612001004