Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของแรงแบ่งคลอด (Abnormality of power) - Coggle Diagram
ความผิดปกติของแรงแบ่งคลอด
(Abnormality of power)
ความหมาย
ความผิดปกติของแรงที่ใช้ผลักดันให้ทารก รก และน้ำคร่ำผ่านออกจากโพรงมดลูก
ประเภท
Abnormality of primary power or force
Abnormalityof secondary power or force
(Abnormalityof secondary power or force)
หมายถึง
ภาวะแรงเบ่งน้อยไม่มีแรงบ่ง หรือเบ่งคลอดไม่ถูกต้อง
สาเหตุ
การเบ่งคลอดไม่ถูกวิธี เช่น ไม่ได้สูดลมหายใจเช้าลึกๆ ก่อนเบ่ง ใช้เวลาเบ่งแต่ละครั้งสั้นหรือนานเกินไป
ท่าเบ่งคลอคไม่เหมาะสม เช่น ดิ้นไปมา
ผู้คลอดเหนื่อยอ่อนเพลีย หมดแรงมีภาวะขาดน้ำ
ผู้คลอดได้รับยาบรรเทาปวดในปริมาณมาก
ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก ดิ้นไปมา ควบคุมตนเองไม่ได้
ผู้คลอดได้รับยาชาเฉพาะที่
ผู้คลอดอ้วนมาก ทำให้กล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
ผู้คลอดมีโรคที่ทำให้มีอันตรายหากเบ่งคลอด เช่น โรคหัวใจ
ผลกระทบ
ผู้คลอดหมดแรงเหนื่อยอ่อนเพลีย ขาดน้ำ จากการเบ่งคลอดนาน
ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
ผู้คลอดเกิดภาวะเลือดเป็นกรดจากการเบ่งคลอดนาน
ผู้คลอดเกิดตะคริวบริเวณขาจากการขึ้นขาหยั่งเป็นเวลานาน
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะดับชันหรือขาดออกชิเจนได้
การพยาบาล
สอนวิธีการเบ่งคลอดที่ถูกต้อง
ไม่สนับสนุนให้ผู้คลอดบ่งเมื่อปากมดลูกยังเบิดไม่หมด
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอทุกระยะของการคลอด
กระตุ้นและเชียร์เบงเมื่อมดลูกหดรัดตัว ชมเชยและพูดให้กำลังใจแก่ผู้คลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 5-15 นาที
6.. ต้องอธิบายสาเหตุของเจ็บปวดให้ทราบ และเห็นใจ เข้าใจผู้คลอด
ผู้คลอดมีโรคที่ทำให้มีอันตราย เช่น โรคหัวใจ มักไม่แนะนำให้เบ่งคลอด ถ้าเป็นไม่รุนแรงให้แพทย์พิจารณา
(Abnormality of primary power or force)
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
(Hypertonic uterine dysfunction)
มดลูกหดรัดตัวมากผิดปกติชนิด
หดรัดตัวเป็นวงแหวนบนรอยคอดของทารก
(Constriction ring)
สาเหตุ
การได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ภาวะถุงน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
การหมุนเปลี่ยนทหารกภายในครรภ์
ถุงน้ำแตกเป็นเวลานาน
การล้วงรก (Manual removal of placenta)
ผลกระทบ
ผู้คลอดมีอาการเจ็บครรภ์คลอดมาก
มารดาและทารกอยู่ในภาวะคับขันที่ต้องรีบให้การช่วยเหลือ
เกิดการคลอดติดขัด อาจทำให้ต้องผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
เกิดในระยะที่ 3 ของการคลอด ส่งผลให้เกิดรกค้าง
และตกเลือดหลังคลอดได้
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง
ในรายที่กำลังได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกให้หยุดยาทันที
จัดให้ผู้คลอดนอนตะแคงซ้ายและให้ออกชิเจน
ฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์ทุก 15 นาที ถ้ามากกว่า 10 ครั้งนาที/น้อยกว่า 100 ครั้งนาที เสียงไม่สม่ำเสมอ ดูแลให้ได้รับออกชิเจนและรายงานแพทย์
ดูแลความสุขสบายร่างกาย และสอนวิธีการบรรเทาปวด โดยการใช้เทคนิคการผ่อนลมหายใจ การเพ่งจุดสนใจ การลูบ การนวด การประคบ
ให้ยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา
ประดับประคองด้านจิตใจ
ดูแลให้สารน้ำอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
เตรียมการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหากปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติแบบไม่คลาย
(Tetanic contraction)
สาเหตุ
การคลอดติดขัด (bstructed lobor) เช่น ทารกในครรภ์อยู่ในทำผิดปกติ หรือภาวะศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานไม่ได้สัดส่วน
การได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกไม่ถูกวิธี คือ ให้เร็วเกินไปหรือให้ขนาดยามากเกินไป การมีรกลอกตัวก่อนกำหนดทำให้มีเลือดขังอยู่ใต้เนื้อรก
ผลกระทบ
ผู้คลอดเจ็บครรภ์คลอดมากเจ็บเกือบตลอดเวลา
อ่อนเพลียเหนื่อยล้า ขาดน้ำ น้ำตาลในเลือดต่ำ
ทารกในครภ์มีโอกาสขาดออกซิเจน
อาจเกิดมดลูกแตกจากมดลูกหดรัดตัวมาก ทำให้ตกเลือดในรายที่มีสาเหตุจากการคลอดติดขัด
ได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ในรายที่ศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน (CPD)
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกบ่อยขึ้นทั้งความถี่ ความนาน ลักษณะการหดรัดตัว Interval ถี่กว่าทุก 2-3 นาที Duration นานกว่า 60 วินาทีหรือไม่คลายตัว รีบรายงานแพทย์
ในรายที่กำลังได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกให้หยุดยาทันที
จัดให้นอนตะแคงซ้าย และให้ออกชิเจนมาสค์ 8-10 ลิตร/นาที
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกถี่ขึ้น เป็นทุก 5 นาที หากพบอัตราหรือจังหวะผิดปกติ ควรรีบรายงานแพทย์
สังเกตอาการที่เตือนว่ามดลูกใกล้จะแตก เช่น ปวดทุรนทุราย กระสับกระส่าย
ประเมินการมีเลือดออกทางช่องคลอด อาจมีภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด จะต้องช่วยให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์โดยเร็ว
ตรวจภายใน เพื่อประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
จัดให้สารน้ำอย่างเพียงพอตามแผนการรักษา
การหดรัดตัวมากกว่าปกติแบบไม่ประสานกัน
(In-coordinate uterine contraction)
สาเหตุ
ผู้คลอดมีความวิตกกังวล และความกลัวมาก มีความเจ็บปวดรุนแรง
ผู้คลอดครรภ์แรก
ผู้คลอดอายุมาก
ผู้คลอดที่ผ่านการคลอดหลายครั้ง โดยเฉพาะมากกว่า 5 ครั้ง
ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกราน
ภาวะทารกในครรภ์ท่าผิดปกติ
ผลกระทบ
การเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน จากการเปิดขยายของปากมดลูกล่าช้าหรือไม่เปิดขยาย
การคลอดล่าช้าจากภาวะ Constriction ring
เจ็บมากกว่าปกติเนื่องจากมดลูกหดรัดตัวแรงและคลายตัวไม่เต็มที่
ทารกมีโอกาสขาดออกชิเจนสูง เนื่องจากเลือดไหลเวียนไปมดลูกและรกลดลง
ผู้คลอดมีอาการเหนื่อย อ่อนเพลียมากกว่าปกติ
การพยาบาล
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกบ่อยขึ้น ทั้งความถี่ ความนาน ความแรง ลักษณะการหดรัดตัว ตำแหน่งการเริ่มต้นหดรัดตัว
จัดให้นอนตะแคงซ้าย ให้ออกซิเจน 5 ลิตร/นาที
จัดให้พักผ่อนในสถานที่สงบและเป็นส่วนตัว
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกถี่ขึ้นเป็นทุก 15-30 นาที อาจประเมินด้วย Sonicaid หรือ Continuous-fetal heart rate monitoring
สนับสนุนการบรรเทาปวด โดยการผ่อนลมหายใจ การนวดก้นกบ การลูบหน้าท้อง การประคบความร้อนหรือความเย็น
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
(Hypotonic uterine dysfunction/uterine inertia)
สาเหตุ
มดลูกมีการขยายตัวมากกว่าปกติ เช่น ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำ มดลูกมีเนื้องอก (myoma uteri) มีถุงน้ำที่รังไข่ (ovarian cyst)
การขาดการกระตุ้น Ferguson s refex ได้แก่ ส่วนนำผิดปกติ ภาวะศีรษะทารกไม่ได้สัดส่วนกับช่องเชิงกรานของมารดา (Cephalopelvicdisproportion: CPD) ช่องเชิงกรานแคบ (contracted pelvis)
ได้รับยาระงับปวดก่อนเวลา(ก่อนปากมดลูกเปิด 3-4 ซม.) หรือได้รับมากเกินไปกล้ามเนื้อมดลูกผิดปกติ
การเจ็บครรภ์คลอดเป็นเวลานาน
มีอาการเหนื่อยอ่อนเพลีย ขาดน้ำขาดอาหาร
มีความเครียด ความวิตกกังวล ความกลัว
ผลกระทบ
เกิดการคลอดล่าช้า เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวน้อยเกินไป
เกิดการคลอดยากหรือการคลอดล่าช้า เนื่องจากแรงไม่
มากพอที่จะผลักดันทารกให้เคลื่อนต่ำลง
มีโอกาสตกเลือหลังคลอด
อาจเกิดถุงน้ำหรือเยื่อหุ้มทารกอักเสบหรือคิดเชื้อ
ในรายที่ถุงน้ำแตกเป็นเวลานาน
มีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย หมดแรง
มีภาวะขาดน้ำ ขาดความสมดุลของเกลือแร่
หรือน้ำตาลในเลือดต่ำ
ผู้คลอดวิตกกังวล หรือกลัว
ทารกมีโอกาสขาดออกซิเจน
การพยาบาล
1.ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
กระตุ้นผู้คลอดให้ลุกเดินในระยะปากมดลูกเปิดช้า
สวนอุจจาระเมื่อเข้าสู่ระยะปากมดลูกเปิดเร็ว
ดูแลผู้คลอดที่ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
ดูแลให้ได้รับการเจาะถุงน้ำ
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ดูความก้าวหน้าของการคลอด
หากการคลอดไม่ก้าวหน้าต้องรายงานแพทย์
ประเมินสภาพเชิงกรานเพื่อตรวจภาวะเชิงกรานแคบ (CPD)
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหาอย่างเพียพอ