Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาล ในระยะที่ 1 ของการคลอด, นางสาวสุธัมวรดี ใจยะ รหัสนักศึกษา…
การพยาบาล
ในระยะที่ 1 ของการคลอด
การพยาบาล
ในการดูแลต้องให้การดูแลทั้งทางด้านร่างกาย และจิตใจ สังคม ไปพร้อมๆกัน
ด้านจิตสังคม จะเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน มารดาต้องปรับตัวเผชิญกับภาวะเครียดนาน
คือ การให้การสนับสนุนค้ำจุนแก่มารดา
มีความเมตา เป็นมิตร รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา มีท่าทางใจดี
ให้ความนีบถือในความเป็นบุคคลแก่มารดาและญาติ
เมื่อจะทำการตรวจหรือปฏิบัติการพยาบาลใดๆ
ต้องบอกให้มารดาทราบ และปฏิบัติด้วยความนุ่มนวล
อธิบายให้มารดาและญาติเขา้ใจถึงกระบวนการคลอดโดยสังเขป
จัดบรรยากาศให้สงบ เป็นสัดส่วนให้มารดาได้ผ่อนคลาย
อยู่เป็นเพื่อนมารดาอย่างใกล้ชิด
ให้คำชมเชยแก่ผู้ตลอด เพื่อให้เกิดความมั่นใจ
ประเมินความต้องการของมารดาและตอบสนองโดยเร็ว
ด้านร่างกาย
สภาวะโดยทั่วไปของมารดา โดยการสังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
วัด vital sings ทุก 4 ชั่วโมง
หากพบความผิดปกติต้องรายงานแพทย์เพื่อช่วยเหลือ
ท่านอน เกี่ยวกับท่านอนในระยะต้นๆ ของการคลอด ไม่จำกัดท่าแต่การยืนยันหรือท่าเดินจะช่วยให้ A-P diameter ของ pelvic outlet ขยายกว้างขึ้นเล็กน้อย จากการแยกตัวของ Sacro-coccygeal ทำให้ศีรษะเด็กเคลื่อนลงต่ำลงไปที่ส่วนของมดลูกเปิดมาก
มารดานอนในท่าตะแคงซ้าย ไม่ควรนอนหงาย
ดูแลความสุขสบายทั่วๆไป จัดสิ่งแวดล้อมให้น่าอยู่ สะอาด
อาหาร
ระยะ latent phase
รับประทานอาหารได้ปกติ
ระยะ active phase
ควรงดน้ำและอาหารทางปาก
หากมีภาวะ prolong labour
ต้องดูแลการได้รับสารน้ำเพียงพอ
การดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่างทุก 2 ชั่วโมง
เพื่อไม่ให้ขัดขวางการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ
การให้ผู้คลอดปฏิบัติวิธีการผ่อนคลายความเจ็บป่วย
ด้านจิต-สังคม
อายุ ศาสนา อาชีพ รายได้ บทบาทสังคม
ประวัติการสมรส และความสัมพันธ์ของครอบครัวและการช่วยเหลือค้ำจุน
ความต้องการมีบุตร การเตรียมพร้อมเพื่อการคลอด ความคาดหว้งในการตั้งครรภ์
ความเชื่อพื้นฐาน ที่มีผลต่อสุขภาพ
ระดับความวิตกังวล
ความอ่อนเพลีย
นางสาวสุธัมวรดี ใจยะ รหัสนักศึกษา 612401143 เลขที่ 140