Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหา…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล
บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
ระบบหายใจ
• ระบบหายใจ คือ ระบบที่ร่างกายแลกเปลี่ยนแก๊สโดยร่างกายจะรับแก๊ส
ออกซิเจนที่อยู่ภายนอกเข้าสู่ร่างกายและขับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออก
จากร่างกาย
สามารถแบ่งตามต าแหน่งที่อยู่ออกเป็น 2 กลุ่มคือ
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนบน
จมูก คอหอย
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนล่าง
หลอดลม หลอดลมปอด หลอดลมฝอย ปอด กะบังลม
การทำงานของระบบทางเดินหายใจ
อัตราการหายใจประมาณ 1ุุุ6-20ครั้งต่อนาที
การหายใจอาจมากหรือน้อยกว่านี้ขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เป็นตัวควบคุมการ
หายใจเข้าออก ระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด และความ
ต้องการออกซิเจน
กระบวนการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
• ก๊าซออกซิเจนจากอากาศที่รับเข้ามาจะแพร่เข้าสู่หลอดเลือดแดงและไหลเวียนไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆ
หายใจเข้า กะบังลมจะเลื่อนต่ำลง กระดูกซี่โครงสูงขึ้น
หายใจออก กะังลมจะเลื่อนสูง กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
• หายใจติดขัด
• คัดจมูก
• ไอจามเล็กๆ น้อยๆ
• อาการรุนแรงอย่างหายใจไม่ออก
• มีคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือด
โรคในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย
โรคที่เกิดจากการติดเชื้อ
• โรคหวัด เกิดได้จากเชื้อไวรัสหลายชนิด
• คออักเสบ เกิดได้ทั้งจากเชื้อไวรัสและแบคทีเรีย
• ปอดอักเสบ หรือปอดบวม มักเกิดจากการติดเชื้อ
แบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา
• วัณโรค เกิดจากแบคทีเรียไมโคแบคทีเรียมทูเบอร์คูโลซิส
โรคในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย
โรคที่เกิดจากสาเหตุอื่น
• หอบหืด
เกิดจากการหดเกร็งของกล้ามเนื้อหลอดลม เป็น
ผลให้หายใจล าบาก เจ็บหน้าอก และหายใจมีเสียงวี๊ดๆ
• โรคภูมิแพ้
เกิดจากการตอบสนองของภูมิคุ้มกันจากการ
ได้รับสิ่งกระตุ้นท าให้มีอาการคัดจมูกน้ำมูกไหลไอจาม
และอาจเกิดอาการกับระบบอื่นๆ ด้วย
• ถุงลมโป่งพอง
เกิดจากการอักเสบของถูกลมปอดจนพอง
และแตกออก จนเกิดอาการไอเรื้อรังและหายใจตื้นซึ่ง
สาเหตุหลักนั้นมาจากการสูบบุหรี่
• มะเร็งปอด
มักเกิดจากการสูดดมควันบุหรี่ อาการใน
ระยะแรกที่สังเกตได้คือ เจ็บหน้าอก ไอเรื้อรังไอเป็นเลือด
เบื่ออาหาร และน้ าหนักลด
การดูแลต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอากาศเพื่อการหายใจ
• การประเมินระดับออกซิเจนในร่างกาย
การประเมินสภาพร่างกาย
• การสังเกตลักษณะการหายใจ
• อัตราการหายใจ การตรวจความสมมาตรของทรวงอก
• การฟังเสียงปอด
• การประเมินร่วม
นับอัตราการเต้นของหัวใจ
ค่าความดันโลหิต
ระดับความรู้สึกตัว
สีของผิวหนัง
สีของริมฝีปาก
สีของเยื่อบุภายในปาก
สีของเล็บ
โดยผู้ที่มีภาวะพร่องออกซิเจนจะมี
อัตราการหายใจที่เร็ว และตื้น
อัตราการเต้นของหัวใจเร็วกว่าปกติ
กระสับกระส่าย
นอนราบแล้วมีอาการเหนื่อย ต้องลุกนั่งจึงจะ
หายใจได้ดีขึ้น
หายใจแรงจนจมูกบาน
ใช้กล้ามเนื้อบริเวณล าตัวช่วยในการหายใจ
ลักษณะซี่โครงบาน
ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น
สับสน ซึม จนถึงขั้นไม่รู้สึกตัว
สีผิวเขียวคล้ำ
การวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
เครื่องมือที่ใช้วัดเรียก Pulse oximetry
การดูแลส่งเสริมให้ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุได้รับออกซิเจน
การจัดท่า
การสอนเทคนิคการหายใจ
2.1 การหายใจเข้า-ออกลึก ๆ
2.2 การผ่อนลมหายใจออกทางปาก
2.3 การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ
การให้ออกซิเจน
4.1 แหล่งออกซิเจน
4.2. เครื่องทำความชื้น
4.3 อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
• ชนิดสายยางเข้าจมูก
• ชนิดหน้ากากออกซิเจน
ขั้นตอนการให้ออกซิเจน
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้ง
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบเกี่ยวกับจุดประสงค์ของการให้ ออกซิเจน
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง 30-90 องศา
ต่อเครื่องควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนกับ หัวต่อออกซิเจน เตรียมพร้อมใช้งาน
เติมน้ ากลั่นปราศจากเชื้อลงในเครื่องท าความชื้น
ต่อสายยางเข้าจมูกเข้ากับเครื่องท าความชื้น ป้องกันเยื่อบุทางเดินหายใจแห้ง
ปรับอัตราการไหลออกซิเจนตามแผนการรักษา ไม่ควร เกิน 6 ลิตร/นาทีและตรวจสอบว่ามี
ออกซิเจนไหล
ใส่สายยางด้านที่มี 2 ท่อ เข้าทางจมูกทั้ง 2 ข้าง โดย ใส่ในลักษณะให้โค้งคว่ าลงตามแนว
โค้งของรูจมูก
การขจัดเสมหะออกจากทางเดินหายใจ โดย
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
โดยให้ผู้ป่วยนั่งตัวตรง ก้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย
หายใจเข้า-ออกลึก ๆ ช้า ๆ 3-4 ครั้งครั้งสุดท้ายหายใจเข้าแล้วกลั้นหายใจไอออกมแรง ๆ เพื่อขับ เสมหะออก
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำ
ประมาณวันละ 2-3 ลิตร โดยน้ าอุ่นจะช่วยให้เสมหะ
อ่อนตัว ขับออกได้ง่าย
การพ่นละอองฝอย
เป็นการใช้ละอองน้ าพ่นเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้น ทำให้
เสมหะอ่อนตัวลง และขับออกได้ง่ายขึ้น
การเคาะปอด
การดูดเสมหะ
เป็นการใช้สายดูดเสมหะ
ปราศจากเชื้อใส่ผ่านเข้าทางปาก จมูกท่อเจาะ
หลอดลมคอหรือท่อหลอดลมคอ พื่อน าเสมหะออก
จากทางเดินหายใจ
อุปกรณ์สำหรับการดูดเสมหะ
เครื่องดูดเสมหะ
ถุงมือปราศจากเชื้อ
ไม้กดลิ้น
ผ้าก็อซ
สายดูดเสมหะปราศจากเชื้อ
การคงไว้ซึ่งสภาพทางเดินหายใจที่โล่ง
Oral nasal pharyngeal airway
สำหรับใส่เข้าทางปากหรือจมูก
เพื่อให้ทางเดินหายใจส่วนต้นโล่ง
ท่อหลอดลมคอ
เป็นการใส่ท่อเข้าในหลอดลม
โดยตรงโดยใส่เข้าทางปากหรือจมูก
ท่อเจาะหลอดลมคอ
เป็นการใส่ท่อโดยต้องเจาะคอผู้ป่วยก่อน
เพื่อเป็นทางส าหรับสอดท่อเข้าหลอดลมใหญ
การดูแล
ต้องระมัดระวังเลือดออกไปอุดกั้น
ทางเดินหายใจในระยะแรกหลังเจาะคอใหมๆต้องหมั่นดูดเสมหะให้ นอกจากนี้ยังมีผลกระทบ
ทางด้านภาพลักษณ์ผู้ป่วยเปล่งเสียงไม่ได้
ท่อเจาะหลอดลมคอ
มนุษย์สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้เพราะมีอากาศหายใจวิธีการที่ถูกต้องเหมาะสม ทั้งการส่งเสริมการหายใจ การช่วยเหลือให้ได้รับ
ออกซิเจนเพียงพอ และการก าจัดเสมหะที่อุดกั้นทางเดินหายใจ