Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่3 การพัฒนาองค์กรและเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร นางสาวชุติพร เนตรวงษ์…
บทที่3 การพัฒนาองค์กรและเครื่องมือในการพัฒนาองค์กร นางสาวชุติพร เนตรวงษ์ เลขที่ 20 603101020 ปี 3
ความหมายขององค์กรและองค์กรพยาบาล
ความหมายองค์การ
องค์การ คือ การรวมตัวของคนตั้งแต 2 คนขึ้นไป เพื่อมารวมมือ (หรือประสานงาน) ทํางาน
บางอย่างให้สําเร็จตามเป้าหมายที่ตั้งใจไว้วัฒนธรรมองค์การ คือ ค่านิยม (Value)
ความหมายการพัฒนาองค์กร (Organization Development)
เป็นเครื่องมือที่ถูกนํามาใช้ในการบริหารและพัฒนา
องค์กรเพื่อให้องค์กรสามารถปรับตัวและแก้ไขปัญหาก้าวทันการเปลี่ยนแปลงพร้อมสร้างความเข้มแข็งให้กับองค์กรอย่างเป็นระบบและเป็นรูปธรรมมากขึ้น
การพัฒนาอคือ ความพยายามอย่างมีแผนที่มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมขององคกร
เป็นความพยายามที่จะทําให้กิดการเปลี่ยนแปลงระบบขององค์การทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
ความหมาย แนวคิด วัตถุประสงค์และขั้นตอนในการพัฒนาองค์กรและลักษณะองค์กรที่ต้องพัฒนา
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาองค์การ
1.เพื่อสร้างเสริมความมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลขององค์การ
2.เพื่อให้องค์การสามารถปรับตัวได้อย่างรวดเร็วและอยู่รอด เมื่อต้องประสบกับปัญหาและการเปลี่ยนแปล้
3.เพื่อพัฒนากระบวนการทํางานอย่างมีแผน และส่งเสริมการมีส่วนร่วมในวัตถุประสงค์ขององค์การร่วมกัน
4.ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไข วัฒนธรรมที่ล้าสมัย ไร้สาระ ขัดต่อความเจริญ
5.มุ่งส่งเสริมหลักการทํางานที่เน้นหลักการมากกว่าตัวบุคคล
6.เน้นทั้งปริมาณงานและความรู้สึกของคน
7.กระจายการตัดสินใจไปยังผู้ปฏิบัติ
8.ส่งเสริมให้สมาชิกตระหนักในความรับผิดชอบต่อตําแหน่งและหน้าที่
9.มุ่งประสานเป้าหมายของบุคคลและองค์การเข้าด้วยกัน
ขั้นตอนของการพัฒนาองค์การ
2.การตรวจวินิจฉัยปัญหา(Diagnosis)
3.การกําหนดยุทธวิธี(tactic or Intervention )
1.การรวบรวมข้อมูล(Data Gathering)
4.การประเมินผล( Evaluation )
เครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาองค์กร
การจะใช้เครื่องมือชนิดใ์กรนั้นและผู้ประเมินประเมินจาก
ความก้าวหน้าขององค์กร ผลกําไร การขยายสาขา การดํารงสถานภาพของผู้บริหารบริหารงานในองค์กรประกอบด้วย3 ส่วนใหญ่ๆ คือผู้บริหาร เป็นนักบริหารนักประกอบการ มีภาวะผู้นํำ
การบริหารที่ยึดวัตถุประสงค์เป็นตัวกําหนด (MBO : Management by objective)
หมายถึง วางแผนเพื่อจัดองค์การที่หัวหน้าและลูกน้องมีบทบาทร่วมกันในการกําหนดเป้าหมายและขอบเขตของงาน เพื่อให้บรรลุผลสําเร็จตามต้องการ
ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน
กําหนดวัตถุประสงค์ (Setting of objectives)
ปรับโครงสร้างขององค์การ (Revision of organization structure)
กําหนดจุดตรวจสอบ (Estabishing check points)
การประเมินการปฏิบัติงาน(Appraisal of performance)
ระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ (Quality control circle : QCC,QC)
หมายถึง การดําเนินการโดยคนกลุ่มน้อย ดําเนินกิจกรรมเพิ่มพูนคุณภาพ
โดยตนเองอย่างอิสระ ณสถานที่ทํางานเดียวกัน
วัตถุประสงค์
เพื่อ เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมงานและภาวะผู้นําของคุณภาพ
เพื่อเพิ่มพูนความสํานึกในคุณภาพปัญหาในงานและแก้ไขปรับปรุงงาน
เพื่อกิจกรรมคุณภาพทั่วทั้งองค์กร
เป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
ส่วนหลักการทําระบบควบคุมคุณภาพ/กลุ่มคุณภาพ
ขั้นตอนแรก การวางแผน (Plan : P)
ค้นหาปัญหา(โอกาสพัฒนา ) วิเคราะห์ข้อมูล สาเหตุของปัญหาระดับ
ของปัญหา เลือกวิธีแก้ปัญหา
ขั้นตอนที่ 2การปฏิบัติ
(DO:D) นําวิธีแก้ปัญหาที่เลือกไปปฏิบัติขั้นตอนที่
ขั้นตอนที่ 3การตรวจสอบ (Check : C) เปรียบเทียบก่อนและหลังว่า
แตกต่างกันอย่างไร พร้อมหาสาเหตุแก้ไขและขั้นตอนที่
ขั้นตอนที่ 4 เป็นขั้นตอนสุดท้าย ได้แก่ การแก้ไขปรับปรุง
(Act:A)หากเป็นที่พอใจและยอมรับทุกฝ่ายนําไปกําหนดมาตรฐานและเผยแพร่
การจัดการคุณภาพโดยรวม (Total quality management : TQM)
การจัดระบบและวินัยในการทํางาน เพื่อป้องกันความผิดพลาดเสียหาย และมุ่งสร้างคุณค่า (value) ในกระบวนการทํางาน(working process) ทุก ๆ ขั้นตอนเป็นแนวทางการสร้างคุณภาพของผลงาน
ความสัมพันธ์ของการจัดการคุณภาพโดยรวม(Total quality management : TQM)
เน้นให้ความสำคัญกับลูกค้า (Customer Oriented)
การสร้างผลงานที่มีคุณภาพให้กับลูกค้าไม่ใช้เพื่อเอาใจเจ้านาย
เท่านั้น มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Continuous Improvement้
ต้องมีส่วนร่วม(employee Involvement)
พนักงานทุกคนจนถึง CEO: chief executive officer CEO
วัตถุประสงค์
เพื่อลดต้นทุนและต้องการพัฒนาคุณภาพเพื่อสร้างความพอใจและความซื่อสัตย์ของลูกค้า
เพื่อสร้างความพอใจในงานและพัฒนาคุณภาพชีวิตของพนักงานให้มุ่งมั่นทุ่มเททํางานและท้ายสุดเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ
และการเจริญเติบโตในอนาคตขององค์กร
เอ็ดเวิร์ด เดมิ่ง (Edward Deming)
ได้พัฒนาแนวคิด 6ประการ
1.การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง(Continuous Improvement )
2.การมอบหมายงานแก่พนักงาน(Employee Empowerment)
3.การกําหนดมาตรฐานเทียบเคียง (Benchmarking)
4.การจัดส่งสินค้าแบบทันเวลาพอดี(Just in time : JIT)
5.Taguchi technique การปรับปรุงผลิตภัณฑ์ตั้งแต่ช่วงที่มีการออกแบบ เพื่อให้ได้คุณภาพที่คงที่
6.ความรู้ในการใช้เครื่องมือ(Knowledge of TQM tools)
การบริหารแบบซิกซิกม่า(Six sigma)
Six sigma หมายถึง โอกาสของการเกิดข้อผิดพลาดเพียง 3.4 ครั้งต่อล้านนครั้ง ข้อผิดพลาดในที่นี้ คือ
สิ่งใดก็ตามที่ไม่เป็นไปตามเป้าหมายของขบวนการผลิตและบริการ ซึ่งมุ่งเน้นให้เกิดความพึงพอใจของลูกค้า
เป็นหลักSix sigma จึงถูกนํามาใช้เป็นชื่อเรียกของวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพในขบวนการใด ๆโดยมุ่งเน้น
การลดความไม่แน่นอน หรือ Variation และการปรับปรุงขีดความสามารถในการทํางานให้ได้ตามเป้าหมายที่กำหนดไว้
การบริหารแบบซิกซิกม่า(Six sigma) เป็นการบริหารที่เกิดขึ้นปี พ.ศ. 2533 โดยกลุ่มวิศวกรของ
บริษัท Motorola ภายใต้การนําของ Dr.Mikel Harry
แนวคิดพื้นฐานของ Six sigma การพัฒนาองค์การแบบ six sigma เป็นการพัฒนาที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศ
six sigma ซึ่งเกี่ยวข้องกับขั้นตอน 4 ขั้นตอน
Measurement
เป็นการขั้นตอนการวัด วัดว๋าองคืการอยู๋ที่ใด black belt
Analyze
เป้นการวิเคราะห์ว่าปัญหาต่าง ๆ เริ่มมาจากที่ใด เพื่อหาทางแก้ไขโดยการเปรียบเทียบศักยภาพขององค์การและคู่แข่ง
Improvement
การแกไขกระบวนการในขั้นนี้ black belt จะเปนผูระบุลักษณะของผลิตภัณฑที่
ตองปรับปรุง เพื่อใหบรรลุผลในการปฏิบัติงานและบรรลุวัตถุประสงคทางดานการเงิน
Control
การควบคุมในขั้นนี้ถูกกําหนดขึ้นมาเพื่อชวยให black belt กําหนดมาตรการตางๆ เพื่อ
เปนตัวควบคุมตัวแปรที่สําคัญ
ระบบการบริหารแบบลีน(Lean Management System)
ลีน(Lean) คือปรัชญาในการผลิตที่ถือว่าความสูญเปล่า (Wastes) เป็นตัวการที่ทําให้เวลาที่ใช้ในการผลิตยาวนานขึ้น
กิจกรรมที่เพิ่มคุณค่า
(Value-Added Activities หรือ VA)
กิจกรรมที่ไม่เพิ่มคุณค่า
(Non-Value AddedActivities หรือ NVA)
การผลิตแบบลีน (Lean)
มีรากฐานของระบบการผลิตมาจากระบบการผลิตแบบโตโยต้าโดยระบบการผลิตแบบโตโยต้าเกิดจากการทดลองปฏิบัติและลองผลิดลองถูกโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดต้้นทุนและเน้นการขจัดหน้าที่ที่ไม่จําเป็นออกไปซึ่งมีแนวคิดพื้นฐาน
การพยายามรักษาการไหลของสินค้าให้เป็นไปอย่างต่อเนื่องและใชระบบการผลิตแบบ
Just in t่me
องค์กรแห่งการเรียนรู้(Learning organization : LO)
หมายถึง องค์กรที่มีทักษะ มีความสามารถ
ในการแสวงหา การสร้างสรรค์ การถ่ายทอดความรู้ และทําความเข้าใจกับความรู้ใหมได้อย่างลึกซึ้ง (Insight์
Peter Senge เป็นผู้ที่สร้างความเข้าใจและเผยแพร่จนเป็นที่ยอมรับและถือเป็นแนวปฏิบัติคือ
“วินัย 5 ประการในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้”
Personal Mastery
ความเป็นเซียนส่วนบุคคล
Mental Model
การยึดติดในใจ อคติ ความฝังใจ โลกทัศน์หรือความคิดความเข้าใจที่คนมีต่อโลก วิธีการคิดของคนที่มีต่อตนเอง ผู้อื่น หรือสิ่งอื่น ๆ ที่อยูู่นอกเหนือตนเอง
Share vision
ฝันเดียวกัน สมาชิกในองค์การมีการกําหนดเป้าหมาย (Goals)
ค่านิยม(Value)การมีวิสัยทัศน์ (vision) พันธกิจ (Mission) ร่วมกัน เพื่อนําไปสู่เป้าหมายหรืออนาคตขององค์กรร่วมกัน
Team learning
การเรียนรู้เป็นทีม กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันของสมาชิก มีการแลกเปลี่ยน
ความรู้ ความคิดเห็น ประสบการณ์ ระหว่างสมาชิกในองค์กรอย่างตอเนื่องและสม่ําเสมอ การพัฒนาความ
System thinking
ระบบการคิดของคนในองค์กร การคิดอย่างเป็นระบบ สิ่งต่าง ๆ มีการเชื่อมโยงกันอย่างเป็นระบบ และ บูรณาการอย่างเป็นองค์รวม
การบริหารจัดการความรู้(Knowledge Management : KM)
การบริหารจัดการความรู้หมายถึงการบริหารจัดการเพื่อให้คนที่ต้องการใชความรู้ ได้รับความรู้ที่ต้องการในเวลาที่ต้องการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการนับเป็นทรัพยสินที่สําคัญขององค์กรธุรกิจ
การพัฒนาฐานข้อมูลลูกค้า
ปัญหาที่พบบ่อย และแนวทางแก้ไข
ออกจากผู้เชี่ยวชาญ และกระจายความรู้ให้ผู้เชี่ยวชาญ
การจัดทําข้อมูลผูู้เชี่ยวชาญ ด้านใด วิธีการติดต่อ การดึงความรู้
การบริหารการเปลี่ยนแปลง(Change management)
หมายถึงการจัดการณฺ์กับเหตุการณ์
สถานการณ์ หรือลักษณะที่ต่างไปจากเดิมให้ดีขึ้นเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น
มี 3 ขั้นตอน
การวางแผนการเปลี่ยนแปลง (Planning for Change)
การนําแผนการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (Implementing Change)
การติดตามประเมินผลและรักษาผลการเปลี่ยนแปลง (Evaluating and Maintaining Change)
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award
:PMQA)
เป็นกระบวนการพัฒนาองค์กรภาคราชการ โดยนํา “เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ”
มี จุดมุ้งเน้น 6 ประการ
การนําองค์กรอย่างมีวิสัยทัศน์
มีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความสําคัญกับประชาชนและผู้มีสวนได่สวนเสีย
ปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้มีความยืดหยุนคล่องตัว
พัฒนาการบริหารคนและการพัฒนาคน มีความคิดริเริ่มและเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลสารสนเทศ
ทํางานโดยมุ่งผลลัพธ์เป็นสําคัญ(ประโยชน์สุขของประชาชน)
การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์(RESULT BASED MANAGEMENT - RBM )
หมายถึง การบริหารโดย
มุ่งเน้นผลการปฏิบัติงานหรือผลสัมฤทธิ์เป็นหลักจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 มีการสร้างเครื่องมือการวัด และประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลการบริหารงาน”
วัตถุประสงค์
ทำให้งานเสร็จตามกำหนดเกิดผลดีต่อหน่วยงานและสวนราชการใช้ทรัพยากรของทางราชการให้คุ่มค้า
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ( Best practice)
วิธีการปฏิบัติที่ทําให้องค์กรประสบความสําเร็จ หรือ
คือการปฏิบัติที่ทําให้องค์กรสู่ความเป็นเลิศ โดยมีคุณลักษณะที่สําคัญ คือ มีแนวปฏิบัติที่เป็นเลิศ
เบ็นซ์มาร์คกิ้ง ( Benchmarking )
หมายถึงกระบวนการแลกเปลี่ยนความรู้ แลกเปลี่ยนประสบการณ์และแลกเปลี่ยนวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) กับองค์กรอื่นภายใต้กฎกติกาสากล