Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัญหาระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก - Coggle Diagram
ปัญหาระบบประสาท กล้ามเนื้อและกระดูก
ปัญหาระบบระสาท
ความไม่รู้สึกต้ว
ระดับความรู้สึกตัว
ความรู้สึกสับสน (confusion) ผู้ป่วยจะรู้สึก สับสนและมีความผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation) ผู้ป่วยไม่ รับรู้ต่อเวลา บุคคล และสถานที่ ระดับความ รู้สึกตัวเริ่มลดลง
ระดับความรู้สึกตัวดี (full consciousness) ผู้ป่วย จะตื่นและรู้สึกตัวดี การรับรู้ต่อเวลา บุคคล และ สถานที่
ระดับความรู้สึกง่วงงุน (lethargy / drowsy) ผู้ป่วย สามารถเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย มีอาการง่วงงุน พูดช้า และสับสน
ระดับหมดสติ (coma) ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่ สามารถตอบสนองทั้งด้านการเคลื่อนไหวหรือ ทางวาจา ต่อสิ่งกระตุ้น
ระดับความรู้สึก stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและ กระตุ้นซ้ าๆ กันหลายครั้ง
ท่าทาง posturing ของเด็กไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงาย งอแขนทั้ง 2 ข้าง เข้าหาตัว ในระดับไหล่ กำมือแน่นและ งอข้อมือทั้ง 2 ข้าง ส่วนขาทั้ง 2 ข้าง เหยียดปลายเท้า ออก และงอปลายเท้าเข้าหากัน โดยท่านอนแบบนี้จะพบ ในเด็กหมดสติที่มีการทำลายของเนื้อสมองส่วน cerebral cortex อย่างรุนแรง
Decerebrate posturing เป็นท่านอนที่เด็กนอนหงาย แขน ทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและคว่ าแขนลงโดยบิดข้อมือออก ด้านข้าง ขาทั้ง 2 ข้างเกร็ง เหยียดออกและแยกออกจากกัน ท่า นอนแบบนี้จะพบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain ไม่ สามารถทำงานได้ตามปกติ
ปฏิกิริยาสะท้อนกลับ (Reflexes)
ในช่วงหมดสติระดับลึก (deep coma) จะพบว่า reflexes ต่างๆ ของเด็กจะหายไป
การตรวจกำลังกล้ามเนื้อ -ไม่มีการเคลื่อนไหวหรือการหดตัวของกล้ามเนื อเลย = 0 -มีการหดตัวของกล้ามเนื อบ้างเล็กน้อย แขน ขา ขยับ ได้บ้างเล็กน้อย = 1 -มีการหดตัวของกล้ามเนื อมากกว่าระดับ 1 แต่ยกแขน หรือขาไม่ได้ = 2
-กล้ามเนื อมีแรงพอที่จะยกแขน ขา ได้โดยไม่ตก = 3
-มีแรงยกแขน ขา ต้านแรงผู้ตรวจได้บ้าง = 4 -กล้ามเนือมีแรงปกติเหมือนคนทั่วไป = 5
ภาวะชักจากไข้สูง convslsion
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
อาการ เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส อาการชัก เกิดขึ นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้ มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี พบมากช่วงอายุ 17 – 24 เดือน
Complex febrile seizure - การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั งตัว(Local or Generalized seizure)
สาเหตุ การติดเชื อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น ติดเชื อระบบ ทางเดินอาหาร , ทางเดินปัสสาวะ , ทางเดินหายใจ
โรคลมชัก Epilepsy ภาวะทางระบบประสาทที่ท าให้เกิดอาการชักซ า ๆ อย่าง น้อย 2 ครั งขึ นไป และอาการชักครั งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง
อาการและอาการแสดง
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชัก
Ictal event หรือ Peri-ictal period คือ ระยะที่เกิดอาการชัก มีระยะเวลาตั งแต่วินาที จนถึงนาที มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
Postictal peroid คือ ระยะเวลาเมื่อการชักสิ นสุดลง มีอาการ ทางคลินิค มีการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าสมอง
พบได้บ่อยในเด็กโรคระบบประสาท ายุที่มีอุบัติการณ์บ่อยคือ 2-5 ปี อัตราการเกิดพบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ Meningitis เป็นการอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมอง ชั นในสุดและอแรคนอยด์ที่อยู่รอบๆ สมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้ม สมองถูกท าลาย ส่วนมากพบในเด็กอายุต่ ากว่า 5 ปี
อาการและอาการแสดง เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ มีอาการ คอแข็ง (Nuchal rigidity คือ มีแรงต้านเมื่อก้มคอผู้ป่วย) ตรวจพบ Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก รีเฟล็กซ์ลึกไวเกิน มีอาการที่แสดงว่าเส้นประสาทสมอง ถูกรบกวนหรือท าลาย
อุบัติการณ์ มักจะเกิดในช่วงหน้าหนาว เพราะเป็นช่วงที่ระบบ ต้านทานในทางเดินหายใจท างานน้อยลง เกิดจากเชื อ นิวโมคอคคัส H. Influenzae และเมนิงโกคอคคัส
โรคไข้กาฬหลังแอ่น Meningocoool Meningtis
เชื้อสาเหตุ เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides เป็นเชื้อแบคทีเรียแกรมลบ รูปร่างกลมคล้ายเมล็ดถั่ว เรียงตัวกันอยู่เป็นคู่ๆ โดยหันด้านเรียบเข้าหากัน ไม่ สร้างสปอร์
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
การตรวจวิเคราะห์ยืนยันเชื้อก่อโรคไข้กาฬหลังแอ่น ด้วยวิธีการ ทดสอบ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR (กรณีเก็บตัวอย่างเชื้อบริสุทธ์)
วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
วิธี seminested-PCR
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร น้ำไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง อาการสำคัญ คือ ศีรษะโตแต่ก าเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับทรวงอก (OF circumference > C circumference 2.5cms), ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญคือ มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อน แรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา นึกถึง
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีน ไม่มีประวัติการคลอดในรพ. เป็นชนต่างด้าว นึกถึง Poliomyelitis
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญคือ ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจ ไม่มีประสิทธิภาพ การดูดกลืนบกพร่อง เลี้ยงไม่โต ข้อ ติดแข็ง พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
ปัญหากระดูกในเด็ก
กระดูกหัก ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยก ออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง หรือมีเพียงบางส่วนติดกัน หรือเป็นเพียงแตกร้าว
สาเหตุ มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุน้ามาก่อนมีแรง กระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่ สูง หรือจากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม
อาการและอาการแสดง 1.มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ 2.บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน 3.รอยจ้้าเขียว เนื่องจากมีเลือดซึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง 4.อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การรักษา จุดประสงค์ที่สำคัญที่สุดในการรักษาในเด็กภาวะฉุกเฉินคือ ช่วยชีวิตเด็กไว้ก่อนแก้ไขเรื่องทางเดินหายใจ การเสียเลือด ภาวะการณ์ ไหลเวียนล้มเหลว และภยันตรายอื่นๆ ที่อาจทำอันตรายต่อชีวิตได้ (save life before safe limb and save limb before save function)
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle ) เกิดขึ้นกับเด็ก มากที่สุด โดยเฉพาะในเด็กที่อายุต่ ากว่า 10 ปี ส่วนในทารกอาจเกิดจากการ คลอดติดไหล่
อาการและอาการแสดง • Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก • Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ • ปวด บวม ข้างที่เป็น • เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคอง ข้างที่เจ็บ
การรักษา ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วัน ระมัดระวังเรื่องการอุ้มเด็ก ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ ข้อศอกงอ 90 องศา และพันแขนให้ติดกับลำตัวด้วยผ้ายืดหรือผ้าสำลี คล้อง แขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus) ในทารกแรกเกิด มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอด สอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอก กระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้้า เวลาจับไหล่ หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture ) พบบ่อยในเด็กเพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจาก การหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ เด็กจะปวดบวมบริเวณข้อศอกอย่างมาก
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส ( Transient subluxation of radial head , pulled elbow ) เป็นการเคลื่อนที่ของหวักระดูกเรเดียส ออกมาจากขอ้ radio- humeral ไม่หมด พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึง แขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนท่อน ปลายคว่า มือ
กระดูกปลายแขนหัก พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึง วัยรุ่น เกิดจากการกระท าทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur ) พบได้ทุก วัย โดยเฉพาะอายุ 2 - 3 ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด็กชาย มากกว่า เพราะซุกซนกว่า ตำแหน่งที่พบคือ ช่วงกลางของ กระดูกต้นขา เด็กจะปวด บริเวณข้างที่หัก บวมตรงต้าแหน่ง กระดูกถ้าอายุต่้ากว่า 3 ปี แก้ไขโดยให้ใส่เฝือกขาแบบ ยาวนาน 3-4 สัปดาห์
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy) ข่ายประสาท brachial plexus เป็นการรวมตัวของรากประสาทไขสนัหลงั ส่วน ventral rami ระดับ C5-T1ซึ่งเป็นเส้นประสาทที่เลยี้งกลา้มเนื้อและรับ ความรู้สึกจากบริเวณไหล่จนถึงปลายมือเมื่อมีภยันตรายต่อข่ายประสาทมีผลให้ เกิดอาการแขนอ่อนแรง สาเหตุ เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น ภาวะคลอด ติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน การวินิจฉัย จากการสังเกตเห็นแขนที่ผดิปกติเคลอื่นไหวได้น้อยกว่าธรรมดา การรักษา ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่ จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หกัได้รับ บาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก กิจกรรมการพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล 1. ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คล้า ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะ การเคลื่อนไหวของข้อต่าง ๆ การ ยกขึ้น งอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของ กล้ามเนื้อ 2. เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
3.2 การดึงกระดูก (Traction)
ชนิดของ Traction ที่ใช้รักษากระดูกหักในเด็ก
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศา กับล้าตัว ในรายที่ผู้ป่วย แขนหักแล้วมีอาการบวมมากยังไม่สามารถ reduce และ ใส่เฝือกได้
Dunlop’s traction ใช้กับเด็กในรายที่มี Displaced Supracondylar Fracture ที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ ( reduce ) ได้ หรือในรายที่มี อาการบวมมาก บางกรณีใช้เพียงเพื่อดึงให้ยุบบวมแล้วจึง reduce ใหม่
Bryant’s traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหัก ( fracture shaft of femur ) ตั้งแต่แรกเกิด จนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ หรือน้ าหนัก ไม่เกิน 13 กิโลกรัม
Skin traction ใช้ในรายที่มี facture shaft of femur ในเด็กโต อายุมากกว่า3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ท้าให้เกิด foot drop ได้
Russell’s traction ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur หรือ fracture บริเวณ supracondyla region of femur การท้า traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกด เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน โรคแทรกซ้อนชนิดหนึ่ง ที่ทำให้แขน มือ และนิ้วหงิกงอ ได้แก่ Volkmann’ s ischemic contracture ซึ่งพบมากในผู้ป่วย ที่มีกระดูกหักบริเวณ supracondylar of humerus และในผู้ป่วย ที่มีfracture both bone of forearm
สาเหตุ เกิดจากกล้ามเนื้อบริเวณ forearm (กลุ่มกล้ามเนื้อ pronator และ flexor) ขาดเลือดไปเลี้ยง หรือมีเลือดไปเลี้ยงน้อย เนื่องจากเส้นเลือดแดงและเส้นเลือด ดา ถูกกด หรือถูกเสียดสีจนช้ำ ทำให้เลือดไหลกลับไม่ได้กล้ามเนื้อจะบวมตึงอาจ เกิดจากสาเหตุต่าง ๆ
1.ระยะเริ่มเป็น ระยะนี้มีอาการและอาการแสดงที่สำคัญ
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อ บวม ตึง แขง็ และมีสีคล้ำ เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ ผวิหนังพอง เนื่องจากกล้ามเนื้อมี fascia หุ้มอยู่ fascia นี้ขยายตัวไม่ได้มากนัก จึงทำให้เกิด ความอดัดนัภายในมาก เป็นเหตุให้กล้ามเนื้อถูกทำลายสลายตัว
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทำให้มือและนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
วิธีป้องกัน 1. จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ ๆ 2. อย่างอข้อศอกมากเกินไปขณะที่ใส่เฝือก จะงอได้มากแค่ไหนควรใช้การจับชีพจร เป็นหลัก ตอ้งงอพอที่จะจบัชีพจรไดเ้สมอ 3.ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพัน ด้วยผ้าพันธรรมดาการใช้ slab จะทำให้ เฝือกขยายตัวได้บ้าง ยังไม่ควรใส่ circular cast
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นานจะส่งผลให้กะโหลก ศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศีรษะบิดเบี้ยว ไม่สมดุล
การรักษา การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch) จัดท่าให้นอนหงายจัดให้หู ข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน หรือหัน หน้าจัดให้คางสัมผัสกับไหล่ข้างที่กล้ามเนื้อหดสั้น การยืดแบบให้เดก็หันศีรษะเอง (active streth) โดยหาวิธีการให้ เด็กหันหน้ามาด้านที่คอเอียงที่มีกล้ามเนื้อหดสั้น เช่น การให้นมหาวัตถุล่อให้มองตามจากของเล่นต่างๆ จัดท่าขณะนอนหลับ การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis) ปรับตำแหน่งศีรษะ
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis) การมีกระดูกสันหลังคดไปด้านข้างร่วมกับมีการหมุนของปล้อง กระดูกสันหลัง เกิดความพิการทางรูปร่างและผิดปกติของทรวงอกร่วม ด้วย ถ้าหลังคดมากทรวงอกก็จะผิดปกติมากขึ้นด้วย
พยาธิสรีรภาพ การเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อท้า ให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง ท้าให้ข้อคดงอ ขา ยาวไม่เท่ากัน ท้าให้ตัวเอียงและหลังคด กล้ามเนื้อหลังและหน้าท้อง ไม่สมดุลกันทั้งสองข้าง
การรักษา 1. ป้องกันไม่ให้โรคเป็นมากขึ้น 2. แก้ไขหรือลดความพิการ 3. ป้องกันและลดความปวด 4. ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหวัใจ 5. ป้องกันภาวะแทรกซ้อน 6. ใหก้ระดูกสนัหลงัมีความสมดุลและแขง็แรง
อาการแสดง 1.กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน สะบักไม่อยู่ระดับเดียวกันคือไหล่ข้างหนึ่งสูงกว่าอีกข้าง 2.ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น หายใจลึกท าได้ยาก 3.พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว ความจุในทรวงอก สองข้างไม่สมมาตรไม่เท่ากัน 4.กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออก จะฝ่อลีบและบาง
5.ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน 6.ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของแขนและเอวไม่เท่ากัน 7.มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก ในเด็กอาจพบไม่บ่อย 8.เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลัง ส่วนเอวคดมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังคด
ปัญหากระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน Ricket พบไดม้ากในเดก็อาย ุ6 เดือน – 3 ปี จากการขาดวิตามินดี โรคไตที่ ท าให้เกิดความผิดปกติของการจับเกาะเกลือแร่ที่กระดูกอ่อน
สาเหตุ 1. ความผดิปกติของการเผาผลาญ Vit D 2. ความผดิปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลา ไส้ ดูดซึม แคลเซียมกลับได้น้อย 3. โรคไตบางชนิดท าให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลแคลเซียมและ ฟอสเฟต 4. ภาวะฟอสเฟตต่า (Hypophosphatasia) จากขาด Alkaline Phosphatase ซึ่งเป็นตัวส าคัญที่ท าให้เกิดการจับเกาะของเกลือแร่
อาการและอาการแสดง ในเด็กเล็ก ความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น ขวบปีแรกเด็กจะมีความผิดรูป ได้แก่ กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อที่กระหม่อมปิดช้า ส่วนหลังของกะโหลกศีรษะแบนราบลง หรือ กะโหลกนิ่ม หน้าผากนูน
การรักษา 1. แบบประคับประคอง ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป 2. การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
การป้องกัน - ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น - การรับประทานอาหารโดยเฉพาะโปรตีนและแคลเซียม - ใหว้ิตามินดี 200 หน่วยต่อวันต่อน ้าหนักตัวส าหรับเด็กคลอดก่อนก าหนด - ให้ออกก าลังกายกระตุ้นการสร้างของกระดูก - ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรด ยาเตรทตราชยัคลิน ยาระบาย ยาขบัปัสสาวะ
Osteomyelitis อุบตัิการณ์ พบในเด็กอายุน้อยกว่า 13 ปี พบมีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาว มากที่สุด เช่น femur , tibia , humerus มักเป็นต าแหน่งเดียว สาเหตุ เชื้อแบคทีเรีย, เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก หรือ จากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
ภาวะแทรกซ้อน 1. กระดูกและเนื้อเยื่อตาย 2. กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ท าลาย physeal plate ยับยั้งการเจริญของกระดูกตามยาว ท าให้กระดูกส่วนนั้นสั้น มีการ โก่งผิดรูปของกระดูก อาจต้องผ่าตัดเพื่อยืดกระดูกให้ยาวขึ้น
การรักษา 1. ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์ 2. การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ข้ออักเสบติดเชื้อ Septic arthritis สาเหตุ เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณ ใกล้เคียง จากการแพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การรักษา 1. การใหย้าปฏิชีวนะ 2. การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage มีข้อบ่งชี้ เพื่อระบายหนอง หยุดยั้งการท าลายข้อ และเพื่อได้หนองและชิ้นเนื้อในการส่งตรวจ
ภาาะแทรกซ้อน 1.Growth plate ถูกทำลาย ทำใหก้ารเจริญเติบโตตามความยาวกระดูก และการทา หนา้ที่เสียไป 2. ข้อเคลื่อน (Dislocation) 3. ข้อถูกทำลาย (joint destruction) 4. หวักระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด(avascular necrosis)
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม ของผู้ป่วย เชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่านทาง lympho- hematogenous spread ยังอวัยวะต่าง ๆ
อาการและอาการแสดง ณโรคกระดูกและข้อในเด็กอาการจะเริ่มแสดงหลังการติดเชื้อประมาณ 1 – 3 ปีที่กระดูกรอยโรคเริ่มที่ metaphysis ของ long bone ซ่ึงมีเลือดมา เลี้ยงมาก อาจเป็นต าแหน่งเดียวหรือมากกว่า กระดูกจะถูกท าลายมากขึ้น กระดูกจะบางลงหรือแตกนอกกระดูกเกิดเป็นโพรงหนองที่ไม่มีลักษณะ การอักเสบหรือแตกเข้าสู่ข้อใกล้เคียง และจะท าลายกระดูกอ่อนของผิว ข้อ
การรักษา 1. ใหย้าตา้นวณัโรค 2. การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อ แก้การกดทับเส้นประสาท
ภาวะแทรกซ้อน กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการ กดประสาทไขสันหลัง จนอ่อน แรงหรือเป็นอมัพาต (Pott’s paraplegia) ปวดขอ้ ผวิขอ้ ขรุขระ ขอ้เสื่อม ขอ้ยดึติด พิการ
Club Foot (เท้าปุก) สาเหตุ ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์ มีอุบัติการณ์ถึง 2.4 เท่า , การติดเชื้อในครรภ์
พยาธิสภาพ เริ่มตั้งแต่ระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage ที่เป็นเนื้อเยื่อ ตน้แบบของกระดูกเทา้ผดิปกติ (primary germ plasm defect) ความสัมพนัธ์ของกระดูกในเทา้ผดิปกติ : พบ navicular bone อยู่ medial และ inferior ต่อกระดูก talus , calcaneus bone หมุนเลื่อนไปทาง medial ซ้อนอยู่ใต้ talus bone และพบกระดูก metatarsal bone บิดเขา้ medial เช่นกัน รูปร่างกระดูก : รูปร่าง และขนาดจะบิดผิดรูปไปจากเท้าปกติ โดยเฉพาะ กระดูก talus , calcaneus , navicular และ cuboid bone
การรักษา 1. ท าให้เท้ามีรูปร่างใกล้เคียงเท้าปกติมากที่สุด 2. สามารถใช้ฝ่าเท้ารับน า้หนัก ได้เหมือนหรือใกล้เคยีงปกติ 3. เท้าสามารถเคลื่อนไหวใกล้เคยีงปกติและสามารถใช้เท้าได้โดยไม่เจ็บปวด
ฝ่าเท้าแบน Flat feet ฝ่าเท้าของคนปกตเิมื่อยืนจะมีช่องใต้ฝ่าเท้าเราเรียก arch ในเดก็เลก็จะไม่มี ซึ่งจะ เริ่มมีตอนเด็กอายุ 3-10 ปี ถ้าโค้งใต้ผ่าเท้าไม่มีเราเรียกเท้าแบนหรือ flat feet
สาเหตุ เป็นพนัธุกรรมในครอบครัว • เกิดจากการเดินที่ผิดปกติเช่นการเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน • เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด • โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
การรักษา 1. พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ 2. ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี 3. อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง 4. ใส่แผ่นรองเท้าเสริม 5. อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
Cerebeal Palay ก่อนคลอด - อาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ - มารดาเป็นโรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน - อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดาขณะตั้งครรภ์ หลังคลอด ปัญหาระหว่างคลอด : คลอดยาก , สมองกระทบกระเทือน ,ขาด ออกซิเจน , ทารกคลอดก่อนกำหนด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma) พบในเด็กมากกว่าในผู้ใหญ่ พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง พบร้อยละ 5 ของโรคมะเร็งในเดก็ อาการและอาการแสดง 1. ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก 2. น้ำหนักลด 3. มีไข้ 4. การเคลื่อนไหวของต าแหน่งที่เป็นผิดปกติ รับน ้าหนักไม่ได้ มักมี ประวัติการเกิดอุบัติเหตุ 5. อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้น ๆ
การรักษา จุดมุ่งหมายหลักของการรักษา คือ “ การตัดก้อนมะเร็งออกให้หมด ป้องกันการแพร่กระจายของโรค ” 1. การผ่าตัด 2. เคมีบำบดั 3. รังสีรักษา
การพยาบาล 1. ไม่สุขสบายจากการปวดแผลผ่าตัดและปวดหลอน (Phantom pain)บริเวณแขน/ขา ที่ถูกตดั 2. เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของกระดูกที่ท าการผ่าตัด 3. เสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากเคมีบ าบัดและรังสีรักษา 4. มีความวิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรค และการรักษาพยาบาล
Omphalocele เป็นความผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง โดยที่มีการสร้างผนังหน้า ท้องไม่สมบูรณ์ ทำให้บางส่วนขาดหายไป มีแต่เพียงชั้นบางๆ ที่ ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้อง Penitoeal และเยื่อ amnion ประกอบกันเป็น ผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุง ปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมาอยู่นอกช่อง ท้อง เช่น ลำไส้เล็ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหารและตับ
การรักษา นอกเหนือไปจากการดูแลรักษาความผิดรูปอื่นที่มีร่วมด้วยแล้ว