Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงของระบบการเผาผลาญ, รายชื่อสมาชิก ห้องB, 17-696x461, newscms…
การเปลี่ยนแปลงของระบบการเผาผลาญ
การเผาผลาญสารอาหารคาร์โบไฮเดรต
ครึ่งแรก หากไม่รับประทานอาหาร/อดอาหาร
เกิด Hypoglycemia
ค่าFBGต่ำกว่าระยะไม่ตั้งครรภ์
ครึ่งหลัง
เกิดภาวะ hyperglycemia
insulin antagonist สามารถแลกเปลี่ยนน้ำตาลให้ทารก
ซึ่งมีระดับน้ำตาลในเลือดต่ำกว่า
การเผาผลาญสารอาหารโปรตีนและไขมัน
ต้องการโปรตีนและไขมันเพิ่มขึ้น
สะสมโปรตีนในร่างกายเพื่อสร้างน้ำนมหลังคลอด
สร้างรก
การเจริญเติบโตของทารก
การขยายตัวของมดลูก
ต่อมน้ำนม
เลือดมารดา
ไขมันในเลือดสูงขึ้นในครึ่งแรก
ทำให้มีอาการคลื่นไส้อาเจียน
ครึ่งหลัง นำไขมันที่สะสมไว้มาใช้เป็นพลังงานทดแทนกลูโคส
เกิดภาวะketosis
จะมีการนำไขมันมาใช้เป็นพลังงานทดแทน
:
น้ำ
โปรตีนในเลือดที่ต่ำลงส่งผลให้ osmotic pressure ลดลง
การเพิ่มแรงดันในหลอดเลือด (venous pressure) มากขึ้น ทำให้น้ำออกไปอยู่นอกเซลล์
ทำให้มีอาการบวมที่ข้อเท้าในระยะท้ายของการตั้งครรภ์
น้ำจะสะสมในร่างกายมากขึ้น ~ 6.5L โดยเป็นน้ำคร่ำ~ 3.5 L
steroid hormones ทำให้มีการดูดซึมกลับของโซเดียมและน้ำ
การเพิ่มของน้ำหนักในระยะตั้งครรภ์
น้ำหนักเพิ่มขึ้น~ 11-12 กก.
ทารก รก น้ำคร่ำ มดลูก เต้านม เลือด
โปรตีนและไขมันที่สะสมในร่างกาย (Maternal reserves)
ปริมาณน้ำที่ไหลเวียนในร่างกาย
การเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย เริ่มตั้งแต่การปฏิสนธิจนตลอดการตั้งครรภ์
สรีรวิทยา
ชีวเคมี
กายวิภาค
อวัยวะต่างๆ จะกลับสู่สภาพเดิมเหมือน ~ 6-8 สัปดาห์หลังคลอด
ยกเว้นการ
เจริญเติบโตของเต้านมซึ่งยังคงผลิตน้ำนม
ความเข้าใจถึงการ
เปลี่ยนแปลงต่างๆ เป็นหัวใจสำคัญของการผดุงครรภ์
ประเมินสุขภาพมารดาและทารก
คัดกรองภาวะเสี่ยงต่างๆ
ไตรมาสแรกน้ำหนักอาจลดลงหรือเพิ่มเนื่องจากคลื่นไส้อาเจียน
น้ำหนักจะเพิ่มขึ้นตามไตรมาส ~ 0.5 กก./wks.
ถ้าเพิ่มน้อยกว่า 1 กก. หรือเพิ่มมากกว่า 3 กก.ต่อเดือน ต้องค้นหาสาเหตุที่เกิดกับภาวะสุขภาพ
รายชื่อสมาชิก ห้องB
นางสาวชญาน์นันท์ ชัยพรพูนมงคล 13B
นางสาวณิชาภัทร ขัติยะ 24B
นางสาวนริศรา เชียงแสงทอง 35B
นางสาวภควดี ฉัตรน้อย 60B
นางสาววรรณภา ดวงสุวรรณ์ 67B
นางสาวสุพัตรา รามจุล 87B
นางสาวอริสรา เจิมขุนทด 96B
นางสาวอัญมณี แอมสมจิตร์ 100B