Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตั้งครรภ์ในสตรีสูงวัย(Elderly gravida) - Coggle Diagram
การตั้งครรภ์ในสตรีสูงวัย(Elderly gravida)
หมายถึง
อายุมากกว่า35ปี ครั้งแรกเรียกว่า elderly primigravida
ปัจจัยส่งเสริม
เพิ่มขึ้นตามอายุ
1.วิธีคุมกำเนิดที่หลายวิธี/มีประสิทธิภาพ
2.การศึกษาสูง หน้าที่การงาน
3.คู่สมรสต้องการความมั่นคงก่อน
4.ความเจริญของเทคโนโลยี มีบุตรเมื่อไหร่ก็ได้
ผลกระทบต่อสุขภาพมารดา
ด้านร่างกาย
1.อัตราการตายสูง
2.เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อน ทั้ง3ระยะ ได้แก่ ความดันโลหิต เบาหวาน การแท้ง ตั้งครรภ์นอกมดลูก รกเกาะต่ำ/รกตัวก่อน ถุงน้ำคร่ำแตกก่อน น้ำคร่ำน้อย หลอดเลือดดำขอดพอง ริดสีดวง หลอดเลือดดำอักเสบ ระยะคลอดยาว รกผิดปกติ ตกเลือด
3.โรคเรื้อรัง ควบคุมยากขึ้น
4.ใช้เทคโนโลยีเกิดทารกแฝดสูง อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน
ด้านจิตใจ
สับสนบทบาท ปรับตัวช้า pregnancy support น้อย เครียด อายที่มีตอนอายุมาก
ผลกระทบต่อภาวะสุขภาพทารก
1.พิการ
Down's syndrome
2.IUGR
3.คลอดก่อน/เกินกำหนด
4.ทารกตัวโต คลอดไหล่ยาก
5.อัตราทุพพลภาพ การตายปริกำเนิดสูง
แนวทางการดูแล
1.การประเมิน โรคทางอายุรกรรม(underlying medical disease)
2.ประเมินภาวะเสี่ยง/ความผิดปกติ -ความพิการ โดยการตรวจวินิจฉัยทารกก่อนคลอด(prenatal diagnosis : PND) -เบาหวาน โดยทำ GCT
3.ถ้าไม่มีความผิดปกติ/ไม่พบภาวะแทรกซ้อน ดูแลปกติ
4.ถ้าพบคามผิดปกติ ให้ดูแลตามภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาลสตรีมีครรภ์สูงวัย
ไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน
ระยะตั้งครรภ์
ดูแลปกติ แนะนำเรื่องปฏิบัติตัว การออกกำลังกาย สิ่งที่ควรหลีกเลี่ยง
ระยะคลอด
เน้นส่งเสริมความก้าวหน้าของการคลอด ป้องกันการคลอดที่ยาวนานจากการลดลง elastictity ภายในเซลล์
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังภาวะตกเลือด
ดูแลตามภาวะแทรกซ้อนอื่น
ลดความวิตกกังล ส่งเสริมการปรับตัว
1.สร้างสัมพันธภาพกับสตรีมีครรภ์และครอบครัว
2.เปิดโอกาสให้พูดคุย ระบายความรู้สึก
3.ดูแลจิตสังคมแบบปกติทั้ง 3 ระยะ ให้การปรึกษาที่เหมาะสม วินิจฉัยทารกพิการอาจต้องสิ้นสุดการตั้งครรภ์ ดูแลปรับตัวด้านการสูญเสีย
4.ส่งเสริมให้ครอบครัวได้เรียนรู้กัน เพื่อส่งเสริมการปรับตัวและการเตรียมพร้อมการดูแลตนเอง