Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์,…
กฎหมายสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541
มาตรา 4 “สถานพยาบาล”
สถานที่รวมถึงยานพาหนะซึ่งจัดไว้เพื่อ
การประกอบวิชาชีพเวชกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพเวชกรรม
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การประกอบโรคศิลปะตามกฎหมาย
การประกอบวิชาชีพทันตกรรมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพทันตกรรม
ประเภท
ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
รักษาเฉพาะผู้ป่วยไป-กลับ
คลินิก
รับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
รับตรวจผู้ป่วยไป-กลับ และค้างคืน
โรงพยาบาล
การขออนุญาตประกอบกิจการ
คุณสมบัติของผู้ขอใบอนุญาต
มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทย
ไม่เคยได้รับโทษจำคุกโดยคำพิพากษา
อายุไม่ต่ำกว่า 20 ปีบริบูรณ์
ไม่เป็นโรคที่รัฐมนตรีประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
ไม่เป็นบุคคลวิกลจริต คนไร้ความสามารถ หรือ คนเสมือนไร้ความสามารถ
หน้าที่ของผู้รับอนุญาต
ต้องแสดงใบอนุญาตของตนไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย
ต้องแสดงรายละเอียดไว้ในที่เปิดเผยและเห็นได้ง่าย
ชื่อสถานพยาบาล
รายการเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม การพยาบาล การผดุงครรภ์ ทันตกรรม เภสัชกรรมหรือผู้ประกอบโรคศิลปะ ซึ่งประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลนั้น
อัตราค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการ
สิทธิของผู้ป่วย
การย้ายสถานพยาบาลไปประกอบกิจการที่อื่นต้องดำเนินการเช่นเดียวกันกับการขออนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาลใหม่
ถ้าประสงค์จะเลิกกิจการสถานพยาบาล ต้องแจ้งเป็นหนังสือและจัดทำรายงานที่จะปฏิบัติเกี่ยวกับผู้ป่วยให้ผู้อนุญาตทราบล่วงหน้าอย่างน้อยสิบห้าวัน
ต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้อนุญาตที่ให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งในการเลิกกิจการ
ถ้าพ้นจากหน้าที่หรือไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้เกินเจ็ดวัน ผู้รับอนุญาตอาจมอบหมายให้บุคคลซึ่งมีคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตทราบภายในสามวัน นับแต่วันที่เข้าดำเนินการแทน
ถ้ามีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลต้องแจ้งเป็นหนังสือให้ผู้รับอนุญาตทราบ
ต้องไม่เรียกเก็บเงินหรือยินยอมให้มีการเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล หรือค่าบริการอื่นเกินอัตราที่ได้แสดงไว้ และต้องให้การบริการแก่ผู้ป่วยตามสิทธิที่แสดงไว้
อายุใบอนุญาต
มีอายุจนถึงสิ้นปีปฏิทินของปีที่สิบนับแต่ปีที่ออกใบอนุญาต
การขอต่ออายุ
ยื่นคำขอก่อนใบอนุญาตสิ้นอายุ
การขออนุญาตดำเนินการสถานพยาบาล
คุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
ต้องไม่เป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลอยู่ก่อนแล้วสองแห่ง
ถ้าเป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน
รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเพิ่มขึ้นอีกแห่งหนึ่งไม่ได้
ขออนุญาตเป็นผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทที่ไม่รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเพิ่มขึ้นได้
ต้องเป็นผู้ที่สามารถควบคุมดูแลกิจการสถานพยาบาลได้โดยใกล้ชิด
เป็นผู้ประกอบโรคศิลปะ หรือผู้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม หรือผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หรือผู้ประกอบวิชาชีพทันตกรรมขึ้นอยู่กับว่าสถานพยาบาลนั้นเป็นสถานพยาบาลประเภทใด หรือให้บริการทางการแพทย์ใด
หน้าที่
ต้องควบคุมดูแลมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลที่ตนได้รับอนุญาตให้เป็นผู้ดำเนินการ ประกอบวิชาชีพผิดสาขา ชั้น หรือแผนตามที่ได้รับอนุญาต
ต้องควบคุมดูแลมิให้ผู้อื่นซึ่งไม่ใช่ผู้ประกอบวิชาชีพมาประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลที่ตนเป็นผู้ดำเนินการ
ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการรับผู้ป่วยไว้ค้างคืนเกินจำนวนเตียงตามที่กำหนดไว้ในใบอนุญาต
ต้องควบคุมดูแลให้ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย
ต้องควบคุมดูแลสถานพยาบาลให้สะอาดเรียบร้อย
หน้าที่ร่วมกันของผู้รับอนุญาตและผู้ดำเนินการสถานพยาบาล
จัดให้มีเครื่องมี เครื่องใช้ ยา และเวชภัณฑ์ที่จำเป็นประจำสถานพยาบาลนั้น ตามชนิดที่กำหนดในกฎกระทรวง
จัดให้มีและรายงานหลักฐาน
ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
ผู้ป่วย
เอกสารอื่นเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลตาม
วิธีการ
เงื่อนไข
หลักเกณฑ์
เก็บรักษาไว้ให้อยู่ในสภาพที่ตรวจสอบได้ไม่น้อยกว่าห้าปีนับแต่วันที่จัดทำ
จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาลตามวิชาชีพและจำนวนที่กำหนดในกฎกระทรวงตลอดเวลาทำการ
ต้องควบคุมและดูแลการประกอบกิจการสถานพยาบาลให้เป็นไปตามมาตรฐาน การบริการตามที่รัฐมนตรีประกาศ
ต้องควบคุมดูแลให้มีการช่วยเหลือเยียวยาแก่ผู้ป่วยซึ่งอยู่ในสภาพอันตรายและจำเป็นต้องได้รับการรักษาพยาบาลโดยฉุกเฉิน
ต้องควบคุมดูแลมิให้มีการใช้หรือยินยอมให้ผู้อื่นใช้สถานพยาบาลประกอบกิจการสถานพยาบาลผิดประเภท
ต้องควบคุมดูแลมิให้โฆษณาหรือยินยอมให้ผู้อื่นโฆษณา
ชื่อ
ที่ตั้งหรือกิจการสถานพยาบาล
ความสามารถของผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
ต้องไม่จัดทำหรือยินยอมให้ผู้อื่นจัดทำหลักฐานอันเป็นเท็จ
เอกสารแสดงการตรวจโรค
เอกสารแสดงผลการรักษาพยาบาล
ค่ารักษาพยาบาลและค่าบริการ
เอกสารกรณีอื่นอันเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล
โทษ
การปิดสถานพยาบาลชั่วคราว
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการ
ทำการหรือละเว้นกระทำการจนเป็นเหตุให้ผู้อยู่ในสถานพยาบาลหรือผู้ที่อยู่ใกล้เคียงกับสถานพยาบาลเดือดร้อนหรือเกิดอันตราย
สถานพยาบาลไม่แก้ไขปรับปรุงตามที่ผู้อนุญาตมีคำสั่งภายในระยะเวลาที่กำหนด
เครื่องมือ
เครื่องใช้
การประกอบกิจการ
ยาและเวชภัณฑ์
ผู้รับอนุญาตไม่ชำระค่าธรรมเนียมการประกอบกิจการสถานพยาบาลตามเวลาที่กำหนด
ผู้รับอนุญาตหรือผู้ดำเนินการปฏิบัติไม่ถูกต้องตามพระราชบัญญัติ
ทางอาญา
ปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
ไม่แสดงใบอนุญาตไว้ในที่เปิดเผย
ไม่มีชื่อสถานพยาบาล
ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับผู้ประกอบวิชาชีพ
ไม่แจ้งอัตราค่ารักษาพยาบาล
ไม่แจ้งสิทธิผู้ป่วย
จำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท ทั้งจำทั้งปรับ
ไม่จัดให้มีผู้ประกอบวิชาชีพ เครื่องมือ เครื่องใช้ ยาเวชภัณฑ์
ไม่จัดทำรายงานการรักษาพยาบาล
ไม่ควบคุมและดูแลสถานพยาบาลให้เป็นไปตามกฎกระทรวง
จำคุกไม่เกินสองปี ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท ทั้งจำทั้งปรับ
ไม่ช่วยเหลือผู้ป่วยในภาวะอันตราย
ไม่ช่วยเหลือ เพื่อส่งต่อผู้ป่วยไปยังสถานพยาบาลที่มีความเหมาะสมตามความจำเป็นหรือความต้องการของผู้ป่วย
ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท และปรับอีกวันละไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทนับแต่วันที่ฝ่าฝืนจนกว่าจะระงับการโฆษณา
โฆษณาสถานพยาบาลอันเป็นเท็จหรือโอ้อวดเกินความจริง ก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
จำคุกไม่เกินสองปี หรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
จัดทำหลักฐานค่ารักษาพยาบาลหรือเอกสารแสดงผลการรักษาพยาบาลอันเป็นเท็จ
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นกรรมการสถานพยาบาลในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิโดยคำแนะนำของสภาการพยาบาล
ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการสถานพยาบาล
ผู้ประกอบวิชาชีพในสถานพยาบาล
ผู้รับอนุญาตประกอบกิจการและผู้ดำเนินการสถานพยาบาลประเภทต่างๆ
คลินิกการพยาบาลและการผดุงครรภ์
บริการ
การดูแลมารดาและทารกก่อนคลอดและหลังคลอด
การพยาบาล
สถานพยาบาลการผดุงครรภ์
บริการ
มารดาและทารกก่อนคลอดและหลังคลอดการคลอดปกติ
การส่งเสริมสุขภาพและการอนามัยแม่และเด็ก
รับผู้ป่วยไว้ค้างคืนไม่เกิน 30 เตียง
สถานพยาบาลผู้ป่วยเรื้อรัง
บริการ
ผู้ป่วยเรื้อรังโดยวิธีการทางการพยาบาล
พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
พ.ศ.2545
นิยามศัพท์
บริการสาธารณสุข
บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข
เพื่อ
การป้องกันโรค
การตรวจวินิจฉัยโรค
การสร้างเสริมสุขภาพ
การรักษาพยาบาล
การฟื้นฟูสมรรถภาพ
รวมถึง
การแพทย์ทางเลือกตามกฎหมายว่าด้วยการประกอบโรคศิลปะ
การบริการการแพทย์ แผนไทย
หน่วยบริการ
สถานบริการที่ได้ขึ้นทะเบียนไว้ตามพระราชบัญญัตินี
สถานบริการ
สถานบริการสาธารณสุขของ
เอกชน
สภากาชาดไทย
รัฐ
หน่วยบริการการประกอบโรคศิลปะสาขาต่าง ๆ
ถานบริการสาธารณสุขอื่นที่กําหนดเพิ่มเติม
เครือข่ายหน่วยบริการ
หน่วยบริการที่รวมตัวกันและขึ้นทะเบียน เป็นเครือข่ายหน่วยบริการตามพระราชบัญญัตินี้
ค่าบริการ
เงินที่ผู้รับบริการจ่ายให้แก่หน่วยบริการในการรับบริการสาธารณสุขแต่ละครั้ง
ค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข
ค่าใช้จ่ายต่างๆที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ
สิทธิการรับบริการสาธารณสุข
มาตรา 5
บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ
มาตรา 6
จะใช้สิทธิตามมาตรา5
ยื่นคำขอลงทะเบียนต่อสำนักงานหรือหน่วยงานที่สำนักงานกำหนด
เพื่อเลือกหน่วยบริการ เป็นหน่วยบริการประจำ
มาตรา 38
จัดตั้งกองทุน
กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
สนับสนุน และส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ
ค่าใช้จ่าย
มาตรา 42
ได้รับความเสียหายที่เกิดขึ้นจากการรักษาพยาบาลของหน่วยบริการถ้ายังไม่ได้รับค่าเสียหายเมื่อสำนักงานจ่ายเงินแล้วสำนักงานมีสิทธิไล่เบี้ยเอาแก่ผู้กระทำผิดได้
พ.ศ.2550
นิยามศัพท์
ระบบสุขภาพ
ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่ เกี่ยวข้องกับสุขภาพ
บริการสาธารณสุข
บริการต่างๆที่กี่ยวกับ
การป้องกันและควบคุมโรคและปัจจัยที่คุกคาม สุขภาพ
การตรวจวินิจฉัยและบําบัดสภาวะความเจ็บป่วย
การสร้างเสริมสุขภาพ
การฟื้นฟู สมรรถภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน
ปัญญา
ความรู้ทั่ว รู้เท่าทันและความเข้าใจอย่าง แยกได้ในเหตุผลแห่งความดี ความชั่ว
สุขภาพ
ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม
บุคลากรด้านสาธารณสุข
ผู้ให้บริการ สาธารณสุขที่มีกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อกําหนดรองรับ
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านสาธารณสุข
ผู้ประกอบ วิชาชีพตามกฎหมายว่าด้วย สถานพยาบาล
สมัชชาสุขภาพ
กระบวนการที่ให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐได้แลกเปลี่ยนองค์ความรู้และเรียนรู้
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา 5
บุคคลมีสิทธิใน
การดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อม
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา 6
ได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม
สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพ ของระบบเจริญพันธุ์
สุขภาพของเด็ก คนพิการ คนสูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคม
มาตรา 7
ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล
พระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติพ.ศ.2550
สิทธิและหน้าที่ด้านสุขภาพ
มาตรา 5
บุคคลมีหน้าที่ร่วมกับหน่วยงานของรัฐในการดําเนินการให้เกิด
สิ่งแวดล้อมและสภาพแวดล้อมตามวรรคหนึ่ง
บุคคลมีสิทธิในการดํารงชีวิตในสิ่งแวดล้อมและ
สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
มาตรา 6
ได้รับการสร้างเสริม และคุ้มครองอย่างสอดคล้องและเหมาะสม
สุขภาพของหญิงในด้านสุขภาพทางเพศและสุขภาพ ของระบบเจริญพันธุ์
สุขภาพของเด็ก คนพิการ คนสูงอายุ คนด้อยโอกาสในสังคม
มาตรา 7
ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล
มาตรา10
เมื่อมีกรณีที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน
พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2523
และพ.ศ.2558
นิยามศัพท์
โรคติดต่อ
ความหมาย
ผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นโรคติดต่อ
โรคซึ่งรัฐมนตรีประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นโรคติดต่อ
โรคที่เกิดจากเชื้อโรคหรือพิษของเชื้อโรคซึ่งสามารถแพร่โดยทางตรง หรือทางอ้อมมาสู่คน
โรคติดต่ออันตราย
มีความรุนแรงสูงและสามารถแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้ อย่างรวดเร็ว
โรคติดต่อต้องแจ้งความ
ความหมาย
โรคติดต่อซึ่งรัฐมนตรีประกาศไว้ในราชกิจจานุเบกษาให้เป็นโรคติดต่อต้องแจ้งความ
โรคติดต่อ ซึ่งผู้ว่าราชการจังหวัดประกาศไว้ให้เป็นโรคติดต่อต้องแจ้งความด้วย
พาหะ
คนหรือสัตว์ ซึ่งไม่มีอาการของโรคติดต่อปรากฎแต่ร่างกายมีเชื้อโรคนั้นซึ่งอาจติดต่อถึงผู้อื่นได้
ผู้สัมผัสโรค
คนซึ่งได้ใกล้ชิด คน สัตว์ หรือสิ่งของ ติดโรค จนเชื้อโรคนั้นอาจติดต่อถึงผู้อื่นได้
ระยะฟักตัวของโรค
ระยะเวลาตั้งแต่เชื้อโรคเข้าสู่ร่างกายจนถึงเวลาที่ผู้ติดโรคแสดงอาการป่วยของโรคนั้น
ระยะติดต่อของโรค
ระยะเวลาที่เชื้อโรคสามารถจะแพร่จากคนหรือสัตว์ที่มีเชื้อโรคไปยังผู้อื่นได้ โดยทางตรงหรือทางอ้อม
แยกกัก
การแยกผู้สัมผัสโรคหรือพาหะ ออกไว้ต่างหากจากผู้อื่น
กักกัน
การแยกผู้สัมผัสโรค หรือพาหะให้อยู่ในที่เอกเทศจนกว่าจะพ้นระยะฟักตัวของโรคนั้นๆ
คุมไว้สังเกต
การควบคุมดูแลผู้สัมผัสหรือพาหะโดยไม่กักกัน
ให้ผ่านไปในที่ใดๆก็ได้
เมื่อไปถึงท้องที่กำหนดไว้ ผู้นั้นต้องแสดงตัวต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุขประจำท้องที่นั้น เพื่อรับการตรวจในทางแพทย์
เขตติดโรค
ท้องที่หนึ่งท้องที่ใด ในหรือนอกราชอาณาจักรที่มีโรคติดต่อเกิดขึ้น
ท้องที่หรือเมืองท่าใดนอกราชอาณาจักรที่มีโรคติดต่ออันตราย หรือโรคระบาดเกิดขึ้น
พาหนะ
ยาน สัตว์ หรือวัตถุ ซึ่งใช้ในการขนส่งคน สัตว์หรือส่งของทางบก ทางน้ำ หรือทางอากาศ
เจ้าของพาหนะ
ผู้รับผิดชอบในการควบคุมพาหนะ
ผู้เดินทาง
คนซึ่งเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การกระทำทางการแพทย์โดยวิธีใดๆก็ตามเพื่อให้คนหรือสัตว์นั้นเกิดอำนาจต้านทานโรค
ที่เอกเทศ
ที่ใดๆซึ่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขกำหนดให้เป็นที่สำหรับแยกกัก
โรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
โรคติดต่อที่ต้องมีการติดตาม ตรวจสอบ หรือจัดเก็บ ข้อมูลอย่างต่อเนื่อง
โรคระบาด
โรคติดต่อหรือโรคที่ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรคแน่ชัด
อาจแพร่ไปสู่ผู้อื่นได้อย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
มีภาวะของการเกิดโรคมากผิดปกติกว่าที่เคยเป็นมา
การสอบสวนโรค
กระบวนการเพื่อหาสาเหตุ แหล่งที่เกิดและแหล่งแพร่ของโรค
คําแนะนํา เพื่อประโยชน์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ
ชื่อและอาการสําคัญของโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวัง
ช่องทางเข้าออกแห่งใดในราชอาณาจักรให้เป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ยกเลิกด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
โรคติดต่อต้อแจ้งความมาตรา 7
แจ้งเจ้าพนักงานสาธารณสุขหรือพนักงานเจ้าหน้าที่
โรคติดต่อต้องแจ้งความ
โรคติดต่ออันตราย
เจ้าบ้าน หรือของผู้คุมดูแลบ้าน หรือของแพทย์ผู้ทำการรักษาพยาบาล
มีเหตุสงสัยว่าได้มีการป่วยโดยโรคติดต่อ
มีการเจ็บป่วย
ผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล
มีการป่วยหรือมีเหตุสงสัยว่าได้มีการป่วยด้วยโรคติดต่อดังกล่าวเกิดขึ้นในสถานพยาบาล
ผู้ทำการชันสูตรทางแพทย์
มีการชันสูตรทางแพทย์อาจมีเชื้ออันเป็นเหตุของโรคติดต่อ
แจ้งภายใน 24 ชั่วโมง
การแจ้งความ
การดำเนินการ
เจ้าบ้านหรือผู้ควบคุมดูแลบ้าน
ความสัมพันธ์กับผู้ป่วย
ชื่อ อายุ และ ที่อยู่ของผู้ป่วย
แจ้งชื่อและที่อยู่ของตน
สถานที่ที่ผู้ป่วยพักรักษาตัวอยู่
วันเริ่มป่วย
อาการสำคัญ
แพทย์ผู้ทำการรักษพยาบาล หรือผู้รับผิดชอบในสถานพยาบาล
แจ้งชื่อที่อยู่และสถานที่ทำงานของตน
สถานที่ที่ผู้ป่วยพักรักษาตัวอยู่
ชื่อ อายุ และที่อยู่ของผู้ป่วย
วันเริ่มป่วย
อาการสำคัญของผู้ป่วยวันแรกรับไว้รักษา
การวินิจฉัยโรคขั้นต้น
สภาพผู้ป่วยขณะแจ้งความ
ผู้ทำการชันสูตรทางแพทย์
ชื่อ ที่อยู่ และสถานที่ทำงานของตน
การวินิจฉัยโรคขั้นต้น
ชื่อ อายุ ที่อยู่ และสถานที่ทำงานของ ผู้ส่งวัตถุตัวอย่าง
ผลการชันสูตร
ผู้มีอำนาจในการควบคุมโรคติดต่อ
ผู้ว่าราชการจังหวัด
เจ้าพนักงานสาธารณสุข
รัฐมนตรี
พนักงานเจ้าหน้าที่
กฎเกณฑ์ในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ
ถ้าหากปรากฎว่ามีโรคติดต่ออันตรายเกิดขึ้นนอกราชอาณาจักรรัฐมนตรีหรือผู้ซึ่งรัฐมนตรีมอบหมายมีอำนาจประกาศให้ท้องที่หรือเมืองท่าในต่างประเทศนั้นๆเป็นเขตติดโรค
ค่าใช้จ่ายต่างๆที่ต้องปฏิบัติตามคำสั่งเจ้าพนักงานสาธารณสุขในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ
กำหนดให้ช่องทางและด่านตรวจคนเข้าเมืองตามกฎหมายว่าด้วยคนเข้าเมือง เป็นด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศไม่ว่าจะเป็นดรคติดต่ออันตรายหรือไม่
โทษ
ปรับไม่เกินสองพันบาท
บุคคลใดไม่แจ้งต่อเจ้าพนักงานสาธารณสุข
โรคติดต่อต้องแจ้งความเกิดขึ้น
มีเหตุสงสัยว่าได้มีโรคติดต่อเกิดขึ้น
มีโรคติดต่ออันตราย
จำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ผู้ใดฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามประกาศ หรือคำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุข
มีเหตุสงสัยว่าได้เกิดโรคติดต่ออันตรายขึ้นในบ้าน โรงเรือน สถานที่หรือยานพาหนะ
ฝ่าฝืนเข้าไปในเขตติดโรค ซึ่งรัฐมนตรีหรือผู้ว่าราชการจังหวัดกำหนดและประกาศไว้
จำคุกไม่เกินหนึ่งปี ปรับไม่เกินห้าหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ถ้าเจ้าของยานพาหนะหรือผู้ควบคุมยานพาหนะไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของเจ้าพนักงานสาธารณสุข
ไม่จอดยานพาหนะ ณ สถานที่ที่กำหนดให้จนกว่าเจ้าพนักงานสาธารณสุขจะอนุญาตให้ไปได้
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
แจ้งต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขภายใน 24 ชั่วโมง นับแต่เมื่อพบหรือมีเหตุสงสัยว่าได้มีการป่วย
.ผู้ควบคุมการระบาดของโรค เมื่อมีผู้ป่วยโรคติดต่ออยู่ในความดูแล
การแยกผู้ป่วย
การเฝ้าดูอาการเมื่อมีเหตุสงสัยว่าอาจเป็นโรคติดต่อ
การเคร่งครัดต่อมาตรฐานความปลอดภัยจะช่วยป้องกันกาแพร่ระบาดของโรคติดต่อ