Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ และกระดูก, นางสาวธนพร รูปทรง…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ และกระดูก
ความไม่รู้สึกตัว
สมองไม่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า แม้สิ่งเร้าจะรุนแรงหรือทำให้เจ็บปวด
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation)
ระดับความรู้สึกง่วงงุน (lethargy / drowsy)
ความรู้สึกสับสน (confusion)
ระดับความรู้สึก stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก
รู้สึกตัวดี (full consciousness)
ระดับหมดสติ (coma) ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่
สามารถตอบสนอง
ประเมินด้วย Glasgow coma scale
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
โรคลมชัก (Epilepsy)
ชักซ้ำ 2 ครั้งขึ้นไป ครั้งที่2 ห่างกัน 24 ชั่วโมง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ = ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง พันธุกรรม
ไม่ทราบสาเหตุ = เกิดจากความผิดปกติของยีนส์
หาสาเหตุไม่ได้ = มีพยาธิสภาพภายในสมอง
อาการ
2.Ictal event
เกิดเวลาสั้นๆ ไม่เกิน 5 นาที
3.postictal
เกิดไม่เกิน 24 ชั่วโมง สับสน อ่อนเพลีย ปวดศีรษะ
4.Interictal
อาจพบคลื่นไฟฟ้าสมองที่ผิดปกติ
1.preicyal period
ระยะนำ= มีอาการบางอย่างนำมาก่อนการชัก
อาการเตือน = ปวด ชา เห็นภาพหลอน
ชนิด
1.ชักเฉพาะที่
แบบมีสติ = รู้สึกตัวตลอดขณะชัก
แบบขาดสติ = สูยเสียการรับรู้ จำเหตุการณ์ช่วงชักไม่ได้
ชักเฉพาะที่ตามด้วยขักทั้งตัว = เริ่มจากเฉพาะที่แล้วกระจายไปยังส่วนใกล้เคียง
2.ชักทั้งตัว
ชักเหม่อ (Absence) = เหม่อลอย ไม่รู้สึกตัวชั่วครู่
เกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures) = เกร็งกระตุกทั้งตัว หมดสติ เกิดไม่เกิน 5 นาที
ชักกระตุก (clonic seizures) = กระตุกเป็นจังหวะ
ชักเกร็ง (Tonic seizures) = เกร็งแข็ง กล้ามเนื้อตึงตัว แขนขาเหยีดตรง ไม่รู้สติ
ชักตัวอ่อน (Atonic seizures ) = เสียความตึงตัวของกล้ามเนื้อทันทีเมื่อชัก
ชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures) = กล้ามเนื้อมีการหดตัวรุนแรงและรวดเร็วมาก คล้ายอาการสะดุ้งตกใจ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ(Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อ Haemophilus influenzae type B: Hib)
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ คอแข็ง (Nuchal rigidity) ตรวจพบ Kernig sign และBrudzinski sign ให้ผลบวก
ชนิด
เฉียบพลันจากเชื้อแบคทีเรีย กลูโคสจะต่ำ โปรตีนจะสูง เซลล์พีเอ็มเอ็น> 300/mm³
เฉียบพลันจากไวรัส กลูโคสจะปกติ โปรตีนจะปกติ/สูง โมโนนิวเคลียร์ < 300/mm³
วัณโรค กลูโคสจะต่ำ โปรตีนจะสูง เซลล์พีเอ็มเอ็นและ โมโนนิวเคลียร์ < 300/mm³
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
อาการ
เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส อาการชัก
เกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
ชนิด
1.Simple febrile seizure (primary febrile seizure)ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั้น ๆ ไม่เกิน 15 นาทีการชักเป็นแบบทั้งตัว (generalized seizure)
2.Complex febrile seizureระยะเวลาการชักเกิดนานมากกว่า 15 นาทีการชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัวหลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท
ไข้กาฬหลังแอ่น(Meningococcal Meningitis)
อาการ
ไข้สูง มีผื่นเป็นจุดเลือด มี central necrosis เรียก purpura fulminans
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะช็อค
การติดต่อ
ทาง droplet transmission
สาเหตุ
เชื้อ Neisseria meningitidis
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Spina bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง
ออกมาตามตำแหน่งที่บกพร่องนั้น
อาการ
มีก้อนที่หลัง หรือที่หน้าผาก ขาอ่อน
แรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา
ชนิด
1.Spina bifida occulta
ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral archesไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง เกิดบริเวณ L5หรือ S1 ไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองยังอยู่ในกระดูกสันหลัง
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลังทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็นถุงหรือก้อน มี 2 ชนิด
1.Meningoceleไม่มีเนื้อเยื่อประสาทไขสันหลัง ไขสันหลังอยู่ตำแหน่งปกติ ไม่เกิดอัมพาต
2.Myelomeningocele กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมามีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลัง พบบ่อย อันตรายและเกิดความพิการ
การรักาษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา
ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด เพื่อลดการติดเชื้อ
การป้องกัน
ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
3.การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt obstruction)
4.ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน(Overdrainage)
5.ภาวะโพรงสมองตีบแคบ(Slit ventricle)
2.การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt infection)
6.ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง(Intraventricular
hemorrhage)
1.การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt malfunction)
มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
7.ไตอักเสบ(Shunt nephritis)
การรักษา
1.การใช้ยา
ยาขับปัสสาวะ (Acetazolamide)
2.การผ่าตัด
ระบายน้ำสู่ช่องในร่างกาย
โพรงสมองลงช่องท้อง(Ventriculo-peritoneal shunt)
โพรงสมองลงช่องหัวใจ(Ventriculo-atrial shunt)
โพรงสมองลงช่องปอด(Ventriculo-pleural shunt)
โพรงสมองลงช่องใต้เยื่อหุ้มสมอง (Ventriculo-cistern magna shunt(Torkildsen shunt)
โพรงสมองทารกในครรภ์ลงถุงน้้ำคร่ำ (Transabdominal percutaneous Ventriculo-amniotic shunt)
ระบายน้ำออกนอกร่างกาย เช่น (ExternalVentricularDrainage,EVD,Ventriculostomy)
อาการ
ศีรษะโต กระหม่อมหน้าโป่งตึง อาเจียนพุ่ง ซึม ไม่ดูดนม Suture separation
ตากรอกลงล่าง กรอกขึ้นบนไม่ได้ เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (Increased intracranial pressure) : IICP
การรักษา
รักษาเฉพาะ : รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP เช่น เนื้องอก การอุดกั้น
ทางเดินน้ าไขสันหลัง
การให้ยาขับปัสสาวะ (Diuretic) ทางหลอดเลือดดำ
การจัดท่านอนนอนราบศีรษะสูง 15 – 30 องศา เพื่อช่วยให้การไหลเวียนของน้ำไขสันหลังกลับสู่หลอดเลือดดำได้ดีขึ้น
ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้อยู่ระหว่าง 27 – 31 องศาเซลเซียส
อาการ
สับสน ง่วงซึม กระสับ กระส่าย มีความลำบากในการใช้ความคิด หลงลืม มีการรับรู้ที่ผิดไป
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
สมองพิการ (Cerebral palsy)
ชนิด
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis)
เคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy
มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย ทรงตัวได้ไม่ดี สติปัญญาปกติ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
1.2 Splastic diplegia มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
1.3 Splastic hemiplegia ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
1.1 Splastic quadriplegia มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง คอและลำตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
4.Mixed type
หลายอย่างร่วมกัน
อาการ
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหว
การทรงตัวผิดปกติ ปัญญาอ่อนชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติปัญหาด้านการพูด
นางสาวธนพร รูปทรง ปี2A เลขที่ 31 รหัสนักศึกษา 613601032