Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระยะเวลาการคลอดผิดปกติ free-form-temp…
ระยะเวลาการคลอดผิดปกติ
การคลอดยาวนาน (Prolong labor)
ความหมาย
การคลอดใช้เวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จริงจนถึงคลอดทารกนานกว่า 24 ชั่วโมง
ลักษณะ
การคลอดยาวนานในระยะปากมดลูกเปิดช้า (prolong latent phase)
ครรภ์หลัง มากกว่า 14 ชั่วโมง
ครรภ์แรก มากกว่า 20 ชั่วโมง
การคลอดยาวนานในระยะเร่ง (active phase disorder)
2) ส่วนนำเคลื่อนต่ำล่าช้า (protracted descent)
ครรภ์หลัง เคลื่อนต่ำน้อยกว่า 2 cm/hr
ครรภ์แรก เคลื่อนต่ำน้อยกว่า 1 cm/hr
1) ปากมดลูกเปิดขยายล่าช้า (protracted dilatation)
ครรภ์แรก น้อยกว่า 1.2 cm/hr
ครรภ์หลัง น้อยกว่า 1.5 cm/hr
การหยุดชะงักของการเปิดขยายของปากมดลูกหรือการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ (arrest disorder)
2)การเปิดขยายของปากมดลูกหยุดชะงัก (secondary arrest of dilatation)
ปากมดลูกไม่มีการเปิดขยายเพิ่มขึ้นภายในเวลา 2 ชั่วโมง
3) การเคลื่อนต่ำของส่วนนำหยุดชะงัก (arrest of descent)
ส่วนนำของทารกไม่มีการเคลื่อนต่ำเพิ่มขึ้นภายในเวลา 1 ชั่วโมง
1) การคลอดยาวนานในระยะ deceleration (prolonged deceleration phase)
ครรภ์แรก มากกว่า 3 ชั่วโมง
ครรภ์หลัง มากกว่า 1 ชั่วโมง
4) ไม่มีการเคลื่อนต่ำของส่วนนำ (failure of descent)
ส่วนนำของทารกไม่มีการเคลื่อนต่ำลงมา >>> แม้ว่าจะอยู่ในระยะ deceleration phase หรือ ระยะที่สองของการคลอด
สาเหตุหรือปัจจัยส่งเสริม
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
CPD
ปากมดลูกยังไม่พร้อม
ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ >>> ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลังหรืออยู่ขวาง
ผู้คลอดได้รับยาระงับความรู้สึกหรือยาระงับความเจ็บปวดมากเกินไปในระยะปากมดลูกเปิดช้า
ผลกระทบ
ผู้คลอด
อ่อนเพลีย มีภาวะขาดน้า เสี่ยงต่อภาวะมดลูกแตก อาจได้รับอันตรายจากการช่วยคลอด PPH
ทารก
อาจได้รับอันตรายจากการช่วยคลอด ขาดออกซิเจน
แนวทางการรักษา
ขึ้นอยู่กับสาเหตุหรือปัจจัยส่งเสริม
หากมีภาวะ CPD
1) ควรผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
2) รายที่สามารถคลอดได้เองทางช่องคลอด
ประเมินและเตรียมปากมดลูกให้พร้อม + ดูแลมดลูกให้หดรัดตัวดี + ให้ยาระงับความเจ็บปวดเพื่อให้ผู้คลอดได้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
การพยาบาล
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด
ส่งเสริมให้เกิดความก้าวหน้าของการคลอดอย่างเหมาะสม
ประเมินหาสาเหตุ + ให้การพยาบาลเพื่อแก้ไขตามสาเหตุ
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด
ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษา >>> กระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ระงับปวด
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะมดลูกแตก
ดูแลให้ได้รับอาหารหรือสารน้าทางหลอดเลือดดาอย่างเพียงพอ
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor)
ความหมาย
การเจ็บครรภ์และการคลอดทารกภายในเวลา 3 ชั่วโมง
การเจ็บครรภ์ที่มีอัตราการเปิดขยายของปากมดลูก
ครรภ์แรก >>> มากกว่า 5 cm/hr
ครรภ์หลัง >>> เปิด 10 cm/hr
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่หนทางคลอดไม่ดี
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ผู้คลอดครรภ์หลัง >>> ส่วนต่างๆ ได้แก่ คอมดลูก พื้นเชิงกราน ช่องคลอด และฝีเย็บหย่อนตัว
เชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็ว
ไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอด หรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง
ทารกตัวเล็ก
ไวต่อยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การวินิจฉัย
ตรวจทางหน้าท้อง >>> มดลูกหดรัดตัวถี่ นาน และแรงกว่าปกติ
ตรวจภายใน >>> ปากมดลูกเปิด >>> ครรภ์แรก มากกว่า 5 cm/hr ครรภ์หลัง เปิด 10 cm/hr
Uterine Contraction ≤ 2 นาที นาน > 90 วินาที หรือไม่คลายตัว
ความดันภายในโพรงมดลูก 50-70 mmHg
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
เนื้อเยื่อบริเวณหนทางคลอดฉีกขาด
ติดเชื้อที่แผล
PPH
อาจเกิดภาวะ AFE
มดลูกหดรัดตัวแรง >>> uterine rupture
มีการคั่งของเลือดใต้ผิวหนังที่ฉีกขาด
อาจเกิดมดลูกปลิ้นได้
ทารก
เลือดออกในสมอง (subdural hemorrhage)
บาดเจ็บจากการคลอด >>> Erb’ palsy
Asphyxia
สายสะดือขากจากสายสะดือสั้น/รกไม่ลอกตัว
ถ้าคลอดมาทั้งถุง (caul delivery) >>> อาจสาลักน้าคร่า
ติดเชื้อจากเตรียมคลอดไม่ทัน
รกลอกตัวก่อนกาหนด
แนวทางการรักษา
ติดตามความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด
เตรียมพร้อมสาหรับการคลอดอย่างเร่งด่วน
การพยาบาล
ผู้คลอดที่มีปัจจัยเสี่ยง >>> แนะนาสังเกตอาการนาเข้าสู่ระยะคลอด >>> มาโรงพยาบาลทันที
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดและ FHS อย่างใกล้ชิด
แนะนาเทคนิคการหายใจ >>> ชะลอแรงเบ่งของมารดา
เตรียมอุปกรณ์การทาคลอดให้พร้อมใช้ >>> ผู้ทาคลอดต้องมีความพร้อมในการรับทารกที่กาลังจะเกิด >>> ไม่ควรกดหรือผลักศีรษะทารกไว้เพื่อชะลอเวลา
กรณีที่ทารกคลอดออกมาพร้อมถุงน้าคร่า >>> อย่ารีบกระตุ้นการหายใจของทารก >>> เจาะและฉีกถุงน้าคร่า >>> จับตัวทารกให้อยู่ในลักษณะที่ศีรษะต่ากว่าลาตัว ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง >>> ป้องกันการสูดสาลัก
หลังคลอด >>> ติดตามการฉีกขาดของช่องทางคลอด การตรวจร่างกายทารก
ดูแลให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกตามแผนการรักษา
ให้การพยาบาลเพื่อป้องกัน PPH (มดลูกหดรัดตัวผิดปกติ)