Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ภาวะผู้นํา นางสาวชุติพร เนตรวงษ์ เลขที่ 20 (603101020)…
บทที่ 4 ภาวะผู้นํา
นางสาวชุติพร เนตรวงษ์ เลขที่ 20 (603101020) ปี 3
แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นํา
ผู้นําเป็นผู้ที่มีศิลปะที่สามารถมีอิทธิพลเหนือและนําคนอื่น โดยได้รับความไว้วางใจและเชื่อมั่นอย่างเต็มที่พร้อมทั้งให้ความเคารพนับถือ ให้ความร่วมมือ และให้ความมั่นใจในตัวผู้นําอย่างจริงจังซึ่งภาวะ
บรรลุผลสําเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กําหนดไว้มนุษย์ทุกคนมีภาวะผู้นํามาตั้งแต่เกิดและได้รับ
ผู้นํานี้เป็นศิลปะหรือความสามารถของบุคคลหนึ่งที่จะจูงใจ หรือใช้อิทธิพลต่อบุคคลอื่นในสถานการณ์ต่างๆเพื่อปฏิบัติการและอํานวยการ โดยใช้กระบวนการสื่อความหมายให้ร่วมใจกับตนดําเนินการจนกระทั่ง
ความหมาย
ภาวะผู้นํา หมายถึง คุณลักษณะที่มีในตัวบุคคล รวมถึง ทัศนคติและการมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล การจูงใจให้ผู้ร่วมงานปฏิบัติตามด้วยความเต็มใจ และบรรลุเป้าหมายขององค์การ
องค์ประกอบที่สําคัญของภาวะผู้นํามีอยู่ 3 องค์ประกอบคือ
ความสัมพันธ์ทางด้านการใช้อํานาจอิทธิพล
ความสัมพันธ์กับบุคคลอื่น ได้แก่ ผู้ใต้บังคับบัญชา ผู้ร่วมงาน
มีจุดหมายเพื่อให้งานของหน่วยงานหรือกลุ่มสําเร็จตามวัตถุประสงค์
การได้มาซึ่งผู้นํานั้นสามารถกระทําได้ 2 ทาง
ผู้นําโดยตําแหน่ง เป็นผู้ที่ได้รับการคัดเลือกหรือแต่งตั้งให้เป็นผู้นํา โดยทําหน้าที่ในด้าน
การบริหาร มีอํานาจหน้าที่และสามารถสั่งการให้ทํากิจกรรมต่าง
ผู้นําโดยบทบาท เป็นผู้นําที่ได้มาโดยบุคคลนั้นได้รับความเห็นความชอบและคัดเลือกจากกลุ่ม และยินยอมให้เป็นผู้นําโดยผู้นั้นไม่มีสิทธิอย่างถูกต้องแต่เป็นการได้มาโดยกลุ่มคนพร้อมใจกันมอบหมายให้เป็นและยินยอมให้เป็นผู้สั่งการ
ความแตกต่างระหว่างผู้นําและผู้บริหาร
ผู้บริหารคือบุคคลที่มีฐานะเป็นผู้บังคับบัญชาหรือผู้ที่มีอํานาจในการบังคับบัญชาตามขอบเขตอํานาจหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายตามโครงสร้างอย่างเป็นทางการ ส่วนผู้นําคือบุคคลที่ใช้ความสามารถในการนํา จูงใจให้บุคคลแต่ละคนทํางานด้วยความเต็มใจ
ผู้นําคือบุคคลที่ใช้ความสามารถในการนํา จูงใจให้บุคคลแต่ละคนทํางานด้วยความเต็ม
ทฤษฎีภาวะผู้นํา
ทฤษฎีคุณลักษณะ (trait theory)
ทฤษฎีนี้จะอธิบายคุณลักษณะต่าง ๆ ของผู้นําที่ประสบผลสําเร็จโดยมองว่าคุณลักษณะของผู้นําคือ ลักษณะความสามารถในการนําและดําเนินกิจกรรมให้กลุ่มไปสู่เป้าหมายตามที่กําหนด
1.1 การศึกษาคุณลักษณะภาวะผู้นําของคอตเตอร์
ลักษณะด้านแรงจูงใจ (motives needs)
1) ชอบอํานาจ (liked power)
2) ชอบความสําเร็จ (liked achievement)
3) มีความทะเยอทะยาน (ambitious)
ลักษณะด้านอารมณ์(temperament)
1)มีความมั่งคงทางอารมณ์ (emotionally stable and even)
2) เป็นคนมองโลกในแง่ดี (aptimistic)
ลักษณะด้านความคิด(cognitive)
1)ฉลาดกว่าบุคคลทั่วไป (above-average intelligence)
2) มีความสามารถในการวิเคราะห์จากระดับปานกลางถึงระดับมาก(analytically)
3) มีความสามารถในการหยั่งรู้ในระดับมาก (intuitively)
ลักษณะด้านปฏิสัมพันธ์(interperson)
1) มีรูปลักษณ์ที่ดีและเป็นที่ดึงดูดใจผู้พบเห็น (personable)
2) มองผลประโยชน์ขององค์การในมุมกว้าง (broad)
ลักษณะด้านความรู้(knowledge)
1) มีความรู้เกี่ยวกับสิ่งที่ตนปฏิบัติ (business)
2) มีความรู้เกี่ยวกับองค์การของตน (organization)
ลักษณะด้านมนุษยสัมพันธ์(relationship)
1) สามารถร่วมมือ (cooperative) กับบุคลากรส่วนใหญ่ขององค์การ
2) สามารถร่วมมือ (cooperative) กับบุคคลที่อยู่ในองค์การประเภทเดียวกัน
1.2 การศึกษาคุณลักษณะผู้นําของเคิร์กแพตตริกและล็อค
มีแรงจูงใจสูง (drive) กล่าวคือ เป็นลักษณะที่ผู้นําแสดงออกให้เห็นถึงความ
เป็นผู้ที่มีความพยายามในการทํางานสูงมากที่จะทํางานให้บรรลุความสําเร็จ
มีความปรารถนาอย่างแรงกล้าที่จะนําผู้อื่น (desire to lead) กล่าวคือ
เป็นคุณลักษณะที่ผู้นํามีความต้องการอย่างแรงกล้า (a strong desire)
มีความซื่อสัตย์และมีศักดิ์ศรี(honesty and integrity) กล่าวคือผู้นําจะ
สร้างความไว้วางใจให้กับผู้อื่นเกิดความเชื่อถือ
มีความเชื่อมั่นในตนเอง (self – confidence) กล่าวคือผู้ใต้บังคับบัญชา
สามารถมองผู้นําโดยปราศจากข้อกังขาใด ๆ
มีความฉลาด (intelligence) กล่าวคือ ผู้นําจะต้องมีความฉลาดเพียงพอที่จะ
รวบรวมสังเคราะห์และตีความสารสนเทศที่มีอยู่อย่างมากมายหรือมอยู่อย่างจํากัด
มีความรู้เกี่ยวกับงานในหน้าที่ (job-relevant knowledge) กล่าวคือ ผู้นําที่
มีศักยภาพสูงจะต้องมีความรู้และความรอบรู้เกี่ยวกับงานขององค์การ
1.3 การศึกษาคุณลักษณะภาวะผู้นําของการ์ดเนอร์
ความเห็นพ้องทางค่านิยม (affirming value) ซึ่งเป็นสิ่งที่ยึดถือปฏิบัติของ
ผู้คนในชุมชน ผู้นําต้องมีการทบทวนค่านิยมใหม่อยู่เสมอ เพื่อปรับให้สอดคล้องกับปัจจุบัน
การจูงใจ (motivation) ผู้นําต้องจูงใจบุคลากรในการทํางานและช่วย
แก้ปัญหาสังคม มองไปข้างหน้าด้วยความมั่นใจ มีความหวังและพลัง
กําหนดภาพในอนาคตของเป้าหมาย (envisioning goals) ผู้นําต้องมีการ
กําหนดวิสัยทัศน์ที่ดีให้แก่องค์กร และนําไปสู่การปฏิบัติได้
การจัดการ (managing) ผู้นําต้องกําหนดเป้าหมาย วางแผนงาน จัดลําดับ
ความสําคัญ มีการตัดสินใจที่เหมาะสมและฉับไว ทั้งนี้เพราะผู้นํากับการบริหารมักจะเกี่ยวเนื่องกัน
ความเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อความสําเร็จของงาน (achieving workableunity) ปกติความขัดแย้งมักเกิดได้ในทุกองค์กร ผู้นําจึงต้องสร้างความยุติธรรม หาทางความเป็นหนึ่งเดียวกันเพื่อความสําเร็จของงาน (achieving workableunity) ปกติความขัดแย้งมักเกิดได้ในทุกองค์กร ผู้นําจึงต้องสร้างความยุติธรรม หาทาง
การอธิบาย (explaining) ผู้นําต้องสอนหรืออธิบายให้ผู้อื่นใจได้ง่าย นั่นคือสามารถใช้การติดต่อสื่อสารที่ดี
การแสดงสัญลักษณ์แห่งความเป็นผู้นํา (serving as a symbol) ผู้นําเท่ากับเป็นตัวแทนขององค์กรในทุกเรื่อง จึงต้องเป็นตัวแทนที่จะสร้างองค์กรให้มีชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับแก่คนทั่วไป
เป็นตัวแทนกลุ่ม (representing the group) ผู้นําต้องใจกว้าง เป็นที่พึ่งของคนอื่นได้
การสร้างสิ่งใหม่ ๆ (renewing) ผู้นําต้องรู้จักสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดศักยภาพในผู้อื่น ต้องสนับสนุนให้เกิดความหลากหลาย
จอห์น (Gary Johns)
1) ทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นําไม่ใช่วิธีการที่ดีที่สุดที่จะทําความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะผู้นําและการปรับปรุงภาวะผู้นํา
2) เป็นการยากมากที่จะระบุได้ว่า คุณลักษณะของผู้นํา (traits) หรือโอกาส(opportunity) ในการได้เป็นผู้นําเป็นสิ่งกําหนดคุณลักษณะ
3) เราไม่ทราบแน่ชัดว่าคุณลักษณะใดของผู้นําเป็นคุณลักษณะที่ทําให้บุคคลประสบความสําเร็จในการทํางานกับผู้อื่นได้อย่างแท้จริง
4) ความล้มเหลวของทฤษฎีคุณลักษณะของผู้นํา ไม่สามารถนําไปปรับใช้ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง (situation)
ทฤษฎีเชิงพฤติกรรม (Leardership behavioral theory) หรือ ทฤษฎีหน้าที่ของ
ภาวะผู้นํา
2.1 การศึกษาของมหาวิทยาลัยโอไฮโอ (Ohio State Studies)
2.1.1 พฤติกรรมมุ่งงาน (Initiating Structure behavior) หมายถึงผู้นําที่มี
ลักษณะของความกระตือรือร้น มีความคิดริเริ่ม มีมนุษยสัมพันธ์ในกลุ่ม
2.1.2พฤติกรรมมุ่งคน (Consideration behavior) หมายถึง ผู้นําที่มีลักษณะของการดูแลเอาใจใส่ มีความเป็นมิตรภาพ
2.2 การศึกษาของมหาวิทยาลัยไอโอวา (The University of Iowa Studies)
2) พฤติกรรมผู้นําแบบประชาธิปไตย (Democratic leader behavior) ผู้นําแบบประชาธิปไตยจะมีการให้ความสําคัญกับผู้ตามมาก จะไม่เน้นถึงอํานาจหน้าที่ แต่ตะเปิดโอกาสให้ผู้คนแสดงความคิดเห็น
3) พฤติกรรมผู้นําแบบปล่อยตามสบาย (Laissez-faire leader behavior) หรือ
แบบเสรีนิยม ผู้นําแบบปล่อยตามสบายจะเน้นให้ความอิสระแก่ผู้ตามมาก
1) พฤติกรรมผู้นําแบบเผด็จการ (Autocratic leader behavior) เป็นผู้นําที่ยึดความเห็นของตนเองเป็นหลักความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานเป็นความสัมพันธ์ในลักษณะผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา
2.3 การศึกษาของมหาวิทยาลัยมิชิแกน (The Michigan Studies)
2.2.1 พฤติกรรมที่มุ่งงาน (Job-Centered Behavior)
2.2.2 พฤติกรรมี่มุ่งให้ความสําคัญแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา (People-CenteredBehavior)
2.4 ทฤษฎีความต่อเนื่องของพฤติกรรมผู้นํา (Continuum of LeaderBehavior)
พลังที่มีอยู่ในตัวผู้บริหาร (forces in the manager)
พลังที่มีอยู่ในตัวของผู้ใต้บังคับบัญชา (forces in the subordinate)
พลังที่มีอยู่ในสถานการณ์ (forces in the situation)
แทนเนนบั้มและชมิดห์
ผู้นําควรปรับบทบาทให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้เข้ามามีบทบาทในการตัดสินใจมากขึ้นในระยะยาว เพราะจะเป็นการสร้างแรงจูงใจในทางบวก ช่วยปรับปรุงคุณภาพการตัดสินใจ การทํางานเป็นทีม การสร้างขวัญและกําลังใจในการทํางาน และถือว่าเป็นการพัฒนาบุคลากร
ทฤษฎีผู้นําตามสถานการณ์ (Situational theory)
3.1 ทฤษฎีตามสถานการณ์ของไฟด์เลอร์ (Fridler contingency theory)
ทฤษฎีของไฟด์เลอร์จะขึ้นอยู่กับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้ร่วมงานและงานที่ได้กําหนดขึ้น โดยมีพื้นฐานที่สําคัญว่า “ประสิทธิภาพของผู้นํา (leader’s effectiveness)
พฤติกรรมของผู้นําที่มุ่งงาน (task motivation)
พฤติกรรมของผู้นําที่มุ่งมนุษยสัมพันธ์ (relationship motivation) ไฟด์เลอร์ได้พัฒนาเครื่องมือในการวิจัย เป็นแบบสอบถามเรียกว่า “ แบบสอบถามเพื่อวัดระดับความพึงพอใจที่บุคคลมีต่อเพื่อนร่วมงานน้อยที่สุด (The Least Preferred Co-worker Questionnaire :LPC)”
3.2 ทฤษฎีภาวะผู้นําแบบวิธีการกับการบรรลุเป้าหมาย (Path-Goal Theory ofLeadership)
ผู้ที่พัฒนาทฤษฎีนี้คือ อีแวนส์ (MartinEvans) และเฮาส์ (Robert House)
หลักการสําคัญของทฤษฎี (Basic Premises)
ทฤษฎีความคาดหวัง (Expectancy Theory of Motivation) สาระสําคัญของทฤษฎีภาวะผู้นําแบบ
วิธีการกับการบรรลุเป้าหมายเสนอแนะว่า ผู้นําที่มีประสิทธิภาพจะส่งผลให้การปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา (subordinate’s performance) มีประสิทธิภาพมากขึ้น
พฤติกรรมของผู้นํา (Leader Behavior)
ภาวะผู้นําแบบสนับสนุน (Supportive Leadership)
ภาวะผู้นําแบบมีส่วนร่วม (Participative Leadership)
ภาวะผู้นําแบบชี้นํา (Directive Leadership)
ภาวะผู้นําแบบมุ่งความสําเร็จ (Achievement-Oriented Leadership)
ยุคล์ (Gary Yukl)
ภาวะผู้นําแบบสนับสนุน มีความเหมาะสมอย่างยิ่งสําหรับงานประจํา (routine) และ
งานที่มีโครงสร้างแน่นอน (highly structured tasks)
ภาวะผู้นําแบบชี้นํา มีความเหมาะสมอย่างยิ่งสําหรับงานที่มีความคลุมเครือ
(ambiguous tasks) และเป็นงานที่มีโครงสร้างที่ไม่แน่นอน (unstructured tasks)
ภาวะผู้นําแบบมีส่วนร่วม มีความเหมาะสมอย่างยิ่งสําหรับกรณีที่ผู้ใต้บังคับบัญชามี
ความสามารถในการทํางานสูง (highly capable subordinates)
ภาวะผู้นําแบบมุ่งความสําเร็จ มีความเหมาะสมอย่างยิ่งสําหรับบุคลากรที่มุ่งทํางานเพื่อ
ความก้าวหน้าในองค์การ (growth-oriented workers)
3.3 ทฤษฎีภาวะผู้นําตามสถานการณ์ของเฮอร์เซย์และบลันชาร์ด (Situational
Leadership Model)
เฮอร์เซย์ (Paul Hersey) และบลันชาร์ด (Kenneth Blanchard) ได้เสนอทฤษฎีภาวะ
ผู้นําเรียกว่า “ทฤษฎีผู้นําตามสถานการณ์ (Situational Leadership Model)” เรียกว่า “ทฤษฎีวัฎจักรของชีวิต (Life Cycle Theory)”
R1 : ผู้ตามไม่มีความสามารถและไม่เต็มใจที่จะทํางาน
R2 : ผู้ตามไม่มีความสามารถในการทํางาน แต่เต็มใจที่จะทํางาน
R3 : ผู้ตามมีความสามารถในการทํางาน แต่ไม่เต็มใจที่จะให้ผู้บริหารบอกว่าต้องทําอะไร
R4 : ผู้ตามมีทั้งความสามารถและเต็มใจที่จะทํางาน
การนําระดับการวัดในแต่ละมิติเข้ามาพิจารณาและจําแนกสไตล์ของ
ภาวะผู้นําเป็น 4 รูปแบบ ดังนี้
ผู้นําแบบชี้นํา (Telling) เป็นภาวะผู้นําที่มุ่งงานสูง (high task)
ผู้นําแบบขายความคิด (Selling) เป็นภาวะผู้นําที่มุ่งงานสูง (high task)
ผู้นําแบบมีส่วนร่วม (Participating) เป็นภาวะผู้นําที่มุ่งงานต่ํา (low task)
ผู้นําแบบมอบอํานาจ (Delegating) เป็นภาวะผู้นําที่มุ่งงานต่ํา (low task) และมีมิติสัมพันธ์ต่ํา (low relationship)
ทฤษฎีภาวะผู้นําสมัยใหม่ (Modern leadership Theory)
4.1 ภาวะผู้นําแบบปฏิรูป (transformational leadership)
คูเนอร์ท (Karl W. Kuhnert) และเลวิส (Phillip Lewis) ได้พัฒนา “ทฤษฎีภาวะผู้นําแบบปฏิรูป (Transformational Leadership)”
4.2 ภาวะผู้นําแบบผู้สอนงาน (Coaching leadership)
4.3 ภาวะผู้นําแบบพิเศษ (Super Leadership)
แมนซ์ (Charles C. Manz) และ (Henry P. Sims, Jr.) ได้เสนอ “ทฤษฎีภาวะผู้นําแบบ
พิเศษ (Super Leadership)”
4.4 ภาวะผู้นําแบบผู้ประกอบการ (Entrepreneurial Leadership)