Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาหารที่เหมาะสมสำหรับบุคคลในภาวะและวัยต่าง ๆ - Coggle Diagram
อาหารที่เหมาะสมสำหรับบุคคลในภาวะและวัยต่าง ๆ
หญิงตั้งครรภ์
โภชนาการสำหรับหญิงตั้งครรภ์
1.พลังงาน ขณะที่ตั้งครรภ์ จำเป็นจะต้องได้รับพลังงานเพิ่มขึ้น เพื่อใช้สำหรับเมทาบอลิซึมที่เพิ่มขึ้นเพื่อการเจริญเติบโตของอวัยวะของแม่ และการเพิ่มขนาดของตัวเด็ก
2.โปรตีน กรมอนามัย แนะนำได้โปรตีนเพิ่มอีกวันละ 25 กรัม เนื่องจากร่างกายต้องการโปรตีนเพื่อสร้างเนื้อเยื่อ ทั้งกล้ามเนื้อและสมองเด็ก และสร้างเนื้อเยื่อทางฝ่ายแม่
3.ธาตุเหล็ก ร่างกายแม่มีการสร้างเม็ดเลือดเพิ่มขึ้นเนื่องจากปริมาณเลือด โดยเสริมวันละ 60 มิลลิกรัม
4.แคลเซียม มีควาสำคัญต่อพัฒนาการและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ และการรักษาปริมาณมวกระดูกของมารดา
5.สังกะสี เพิ่มวันละ 2 มิลลิกรัม เนื่องจากสังกะสีควบคุมการเจริญเติบโตและพัฒนาการระบบภูมิคุ้มกันอายุขัยของเซลล์ ถ้าขาดทารกในครรภ์จะเจริญเติบโตช้า
6.ไอโอดีน ควรได้เพิ่ม วันละ 50 ไมโครกรัม เนื่องจากอาจจะเกิดภาวะเสี่ยงต่อการแท้งบุตร ทารกตายขณะคลอด
7.วิตามินบีหนึ่ง ควรได้รับเพิ่มวันละ 0.3 มิลลิกรัม
8.วิตามินบีหก เพิ่มเป็น 0.6 มิลลิกรัม ช่วยใรการเผาผลาญและสังเคราะห์กรดอะมิโน และ Heme
9.วิตามินโฟลาซิน ถ้าขาดจะส่งผลให้เด็กทารกที่คลอดพิการทางสมอง ได้รับวันละ 500 ไมโครกรัม
อาหารสำหรับหญิงตั้งครรภ์
อาหารกลุ่มข้าว แป้ง วันละ 9 ทัพพี
อาหารกลุ่มผัก วันละ 6 ทัพพี
อาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 5 ส่วน
อาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ วันละ 12 ช้อนกินข้าว
อาหารนและผลิตภัณฑ์นม วันละ 3 แก้ว
อาหารกลุ่มไขมัน วันละ 5 ช้อนชา
วัยเรียน
หลักการจัดอาหารสำหรับเด็กวัยเรียน
ควรจัดอาหารให้หลากหลาย ย่อยง่าย เคี้ยวง่าย รสไม่จัด สีสันน่ารับประทาน
2.ควรเสริมอาหารประเภทเต้าหู้ และถั่วเมล็ดแห้งต่าง ๆ แทนอาหารประเภทเนื้อสัตว์
ควรจัดอาหารที่มีส่วนประกอบของผักทุกวันให้ีความหลากหลาย เช่น ผักใบเขียว
ควรฝึกให้เด็กรับประทานผลไม้ทุกวัน
5.ขนมหวานและอาหารว่าง ควรทำจากธัญพืชต่าง ๆ และถั่วเมล็ดแห้ง
6.ไม่ควรปรุงอาหารรสจัด
7.ไม่ควรให้ขนหรือกินเล่นก่อนมื้ออาหาร
8.ระมัดระวังในเรื่องความสะอาดของอาหาร
ความต้องการสารอาหาร
พลังงาน เด็ก 6-8 ปี ชายและหญิง = 1400 กิโลเเคลอรี่ เด็กอายุ 9-12 ปีหญิง = 1600 กิโลแคลอรี่
โปรตีน เด็ก 6-8 ปี = 28 กรัม เด็ก 9-12 ชาย = 40 กรัม เด็กอายุ 9-12 ปีหญิง = 41 กรัม
แคลเซียมและฟอสฟอรัส เด็กอายุ 6-8 ปี = 800 มิลลิกรัม เด็กอายุ 9-12 ปี = 41 มิลลิกรัม
ไอโอดีน เด็กอายุ 6-8 ปี และวัย 9-12 ปี = 120 ไมโครกรัม ป้องกัน คอพอก
สังกะสี เด็ก6-8 ปี = 4 มิลลิกรัม เด็กอายุ 9-12 ปี = 5 มิลลิกรัม
วิตามิน เด็กอายุ 6-8 ปี และ 9-12 ปี = 5 ไมโครกรัม
เด็กก่อนวัยเรียน
โภชนาการ
พลังงาน เด็กอายุ 1-3 ปีวันละ 1000 กิโลแคลอรี่ เด็กอายุ 4-5 ปี วันละ 1300 กิโลแคลอรี่
โปรตีน เด็กอายุ 1-3 ปี วันละ 18 กรัม เด้กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับวันละ 22 กรัม
วิตามินบีหนึ่ง เด็กอายุ 1-3 ปี วันละ 0.5 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับ วันละ 0.6 มิลลิกรัม
วิตามินสอง เด็กอายุ 1-3 ปี วันละ 0.5 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับ วันละ 0.6 มิลลิกรัม
วิตามินบีหก เด็กอายุ 1-3 ปี วันละ 0.5 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับ วันละ 0.6 มิลลิกรัม
วิตามินบีสิบสอง เด็กอายุ 1-3 ปี วันละ 0.9 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับ วันละ 1.2 มิลลิกรัม
แคลเซียม เด็กอายุ 1-3 ปี วันละ 500 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับ วันละ 800 มิลลิกรัม
ฟอสฟอรัส เด็กอายุ 1-3 ปี วันละ 460 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับ วันละ 500 มิลลิกรัม
ธาตุเหล็ก เด็กอายุ 1-3 ปี วันละ 460 มิลลิกรัม เด็กอายุ 4-5 ปี ควรได้รับ วันละ 460 มิลลิกรัม
ไอโอดีน เด็กอายุ 1-3 ปี วันละ 90 มิลลิกรัมเท่ากับ เด็กอายุ 4-5 ปี
ทารก
โภชนาการสำหรับทารก
พลังงาน ทารก 6-11 เดือน ควรได้รับวันละ 800 กิโลแคลอรี่
โปรตีน สร้างกล้ามเนื้อ ทารกอายุ 6-11 เดือน ควรได้รับวันละ 15 กรัม
ความต้องการสารอาหารในทารก
วิตามินดี ช่วยดูดแคลเซียม สร้างกระดูกและฟัน ทารกอายุ 6-11 เดือนควรได้รับวันละ 5 ไมโครกรัม
วิตามินอี ทารก 6-11 เดือน ควรได้รับวันละ 5 มิลลิกรัม
วิตามินเอ รักษาสภาพของเยื่อ บุผิวที่ผิว ต้านทานโรค อายุ 6-11 เดือน ควรได้รับวันละ 400 ไมโครกรัม
วิตามินซี จำเป็นสมานแผล ทารกอายุ 6-11 เดือน ได้รับวันละ 35 มิลลิกรัม
บีหนึ่ง เพื่อเผาผลาญ ทารกอายุ 6-11 เดือน ควรได้รับวันละ 0.3 มิลลิกรัม
วิตามินบีสอง ควรได้รับวันะ 0.4 มิลลิกรัม
วิตามินบีหก ควรได้รับวันละ 0.5 มิลลิกรัม
วิตามินบีสิบสอง ได้รับวันละ 0.5 ไมโครกรัม
แคลเซียม ได้รับวันละ 270 มิลลิกรัม
ฟอสฟอรัส ได้รับวันละ 275 มิลลิกรัม
ไอโอดีน ได้รับวันละ 9.3 มิลลิกรัม
ธาตุเหล็ก ควรได้รับวันละ 9.3 มิลลิกรัม
สังกะสี ได้รับ 3 มิลลิกรัม
ชนิดอาหารที่ให้ทารกตามวัย
เด็กอายุ 6 เดือน กินนมแม่และอาหารอื่น 1 มื้อ
ข้าว = ข้าวบด 3 ช้อนกินข้าว บดละเอียด
ไข่และเนื้อสัตว์ = ไข่แดงครึ่งฟอง กับ ตับบด 1 ช้อนกินข้าว หรือปลาบด 2 ช้อนกินข้าว เป็นปลาทู ปลาช่อน
ผัก = ผักสุกบดครึ่งช้อนกินข้าว เช่นตำลึง กวางตุ้ง
ผลไม้ = ผลไม้สุก 1-2 ชิ้น เช่น มะละกอสุก มะม่วงสุก ส้ม กล้วย
อาหารทารกอายุ 8-9 เดือน กินนมแม่และอาหารอื่น 2 มื้อ
ข้าวหุงนิ่ม ๆ = 5 ช้อนกินข้าว แบ่งกินมื้อละ 2-3 ช้อนกินข้าวไม่ต้องบดละเอียด เพราะฟันเริ่มขึ้น
ไข่ทั้งฟอง = เนื้อสัตว์ 2 ช้อน
ผัก = ผักสุกหั่น 2 ช้อนกินข้าว
ผลไม้ = กินผลไม้สุกวันละ 3-4 ชิ้น
อาหารทารก อายุ 10-12 เดือน กินนมแม่และอาหารอื่น 3 มื้อ
ข้าว = ข้าวสุกหุงนิ่ม 5 ช้อนกินข้าวให้กินใน1 วัน
ไข่ทั้งฟองและเนื้อสัตว์ 2 ช้อนกินข้าว แยกเป็น 3 มื้อ
ผัก = ผักสุกหั่น 2 ช้อนกินข้าว
ผลไม้ = ผลไม้สุก ได้แก่ กล้วยน้ำว้า มะละกอสุก หลังจากให้ลูกกินอาหารแล้ว ควรให้ลูกกินนมแม่ตามจนอิ่ม
หญิงให้นมบุตร
1.พลังงาน พลังงานในการผลิตน้ำนม พลังงานเพิ่มอีกวันละ 500 กิโลแคลอรี่
โปรตีน ใช้ในการสร้างน้ำนมสำหรับทารก เพื่อซ่อมแซมเซลล์ต่าง ๆ ที่สูญเสียไปในการคลอดทารก
3.วิตามิน
เอ เพิ่มวันละ 375 ไมโครกรัม
ดี เท่าปกติ
บีหนึ่ง ควรได้เพิ่มอีก 0.3 มิลลิกรัม
บีสอง ควรได้รับเพิ่มอีกวันละ 0.5 มิลลิกรัม
ซี ควรได้รับเพิ่มวันละ 35 มิลลิกรัม
เกลือแร่
แคลเซียม เท่าปกติ
ไอโอดีน เพิ่มอีกวันละ 50 ไมโครกรัม
ธาตุเหล็ก เพิ่มวันละ 15 มิลลิกรัม
อาหารสำหรับหญิงให้นมบุตร ต้องการวันละ 2250 กิโลแคลอรี่
อาหารกลุ่มข้าวแป้ง วันละ 9.5 ทัพพี
อาหารกลุ่มผัก วันละ 7 ทัพพี
อาหารกลุ่มผลไม้ วันละ 7 ส่วน
อาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ กินวันละ 12 ส่วน
อาหารกลุ่มนมและผลิตภัณฑ์นม วันละ 3 แก้ว
อาหารกลุ่มไขมัน กินวันละ 5 ช้อนชา