Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของสิ่งที่คลอดออกมา :warning: (Abnormality of passenger),…
ความผิดปกติของสิ่งที่คลอดออกมา
:warning: (Abnormality of passenger)
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
ความผิดปกติของส่วนนำและท่าของทารก
1 ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลังแล้วไม่หมุนมาด้านหน้า (Occiput posterior persistence: OPP)
2 ท่าหน้า (Face presentation)
3 ท่าหน้าผาก (Brow presentation)
4 ท่ากัน (Breech presentation)
5 ท่าขวาง (Transverse lie)
2.ความผิดปกติของขนาดและรูปร่างของทารก
2 ทารกหัวบาตร (Hydrocephalus)
3 ทารกแฝดติดกัน (Conjoined twins)
1 ทารกตัวโต (Macrosomia)
4 ทารกท้องโต
ความผิดปกติของส่วนนำและท่าของทารก :<3:
ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลังแล้วไม่หมุนมาด้านหน้า (Occiput posterior persistent: OPP)
ผลกระทบ
การคลอดยาวนานคลอดยากหรือหยุดชะงัก
อาจต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
หรือทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ผู้คลอดปวดหลังและเอวมาก
เนื่องจากท้ายทอยมากดที่ sacral nerve
ผนังช่องคลอดและฝีเย็บยึดขยายและฉีกขาดได้มาก
เนื่องจากศีรษะทารกดันมาด้านหลังมากและถ่างขยาย
ผนังช่องทางคลอดด้านหลังและฝีเย็บให้ยึด
เพื่อให้คลอดออกมาให้ได้หรือเนื่องจากการใช้
สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
ปากมดลูกบวมและอาจฉีกขาดได้
เนื่องจากศีรษะทารกกดอยู่นานและมีลมเบ่ง
ตั้งแต่ปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
ผู้คลอดเหนื่อยล้าติดเชื้อและตกเลือดหลังคลอด
ได้ง่ายเนื่องจากระยะการคลอดยาวนาน
และช่องทางคลอดฉีกขาดมาก
กระทบกระเทือนด้านจิตใจมาก
ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องมือช่วยคลอด
เครียดวิตกกังวลคับข้องใจเนื่องจากเจ็บครรภ์คลอดมาก
ระยะคลอดยาวนานหรือกลัวตนเองและบุตร
จะได้รับอันตรายจากการคลอด
สาเหตุ
ผนังหน้าท้องหย่อนยานมากเช่นผู้ที่ผ่านการคลอดมาหลายครั้ง
มีสิ่งกีดขวางการหมุน เช่น รกเกาะด้านหน้าของมดลูก
เนื้องอกในช่องเชิงกราน
เชิงกรานแคบโดยแคบในแนวขวางของ midpelvic
เช่นแบบเชิงกราน Android or Anthropoid
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหรือแรงเบ่งน้อย
ศีรษะทารกใหญ่หรือเล็กเกินไปทำให้ไม่กระชับกับช่องทางคลอด
กล้ามเนื้อพื้นเชิงกรานหย่อน
ศีรษะทารกก้มน้อยหรือช้าไปเมื่อเข้าสู่ช่องเชิงกราน
ท่ากัน (Breech presentation)
สาเหตุ
3.ครรภ์แฝดหรือครรภ์แฝดน้ำ
4.ผนังหน้าท้อง หรือ กล้ามเนื้อมดลูกหย่อน เช่น
กรณีผ่านการคลอดมาหลายครั้ง
ทารกตัวเล็ก
กระดูกเชิงกรานแคบ
การคลอดก่อนกำหนด
มีสิ่งกีดขวางการเข้าสู่ช่องเชิงกราน
เช่น รกเกาะต่ำครรภ์แฝด เนื้องอกในมดลูก
ทารกโตช้าในครรภ์ทารกตายในครรภ์ หรือ
ทารกพิการหรือรูปร่างผิดปกติ เช่น
anencephaly, hydrocephalu
ผลกระทบ
ระยะการคลอดยาวนานโดยเฉพาะระยะที่ 2
ของการคลอดอาจเกิดการคลอดหยุดชะงัก
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนดเนื่องจากท่าผิดปกติ
และมักเกิดการติดเชื้อร่วมด้วย
การฉีกขาดของช่องทางคลอดอ่อน
เนื่องจากการคลอดศีรษะยากศีรษะมักเงย
มีการเกยกันของกระดูกน้อย
การติดเชื้อหลังคลอดเนื่องจากมีการฉีกขาด
ของช่องทางคลอดมากจากการใช้สูติศาสตร์หัตถการ
ช่วยคลอดร่วมกับมีถุงน้ำแตกเป็นเวลานาน
ตกเลือดหลังคลอดช่องทางคลอดฉีกขาดมาก
หรือ มดลูกแตกจากการใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนเนื่องจากภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
หรือ ถูกกดจากการที่ส่วนนำไม่แนบกระชับกับช่องทางคลอด
หรือ จากทารกหายใจก่อนศีรษะคลอดออกมาภายนอกทำให้สำลักน้ำคร่ำเข้าไปในปอด หรือ จากการคลอดศีรษะช้าเกินไป
ทำให้สายสะดือถูกกดทับระหว่างศีรษะกับกระดูกเชิงกราน
เลือดออกในสมองของทารกจากการดึงศีรษะทารก
อย่างรวดเร็วทำเกิดการฉีกขาดของเยื่อหุ้มสมองและมีเลือดออก
อัตราตายสูงกว่าการคลอดที่มีศีรษะเป็นส่วนนำ 3-5 เท่า
ทารกได้รับบาดเจ็บจากการคลอดเนื่องจากการใช้
สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด การดึงศีรษะทารกอย่างแรงหรือผิดวิธี
เช่น เลือดออกในกะโหลกศีรษะกระดูกคอเคลื่อนหรือหัก
กระดูกต้นแขนต้นขาหักกระดูกไหปลาร้าหัก
ข้อสะโพกเคลื่อนเส้นประสาทต้นแขนบาดเจ็บ
3.ท่าหน้า (face presentation)
เกิดจากการเงยของศีรษะแทนที่จะก้มตามปกติ
เมื่อผ่านเข้าสู่ช่องเชิงกรานท้ายทอยอยู่ชิดกับหลัง
มีคางเป็นส่วนนำถ้าคางอยู่ด้านหน้าของเชิงกรานจะคลอดได้เอง
ทางช่องคลอดความก้าวหน้าของการคลอดจะใกล้เคียงกับการคลอดปกติเนื่องจากเส้นผ่านศูนย์กลางส่วนที่กว้างที่สุดใกล้เคียงกับท่า OA
ท่าหน้าผาก (Brow presentation)
ท่าที่อยู่ระหว่างการก้มกับการเงย เมื่อการคลอดดำเนินไปมักจะเปลี่ยนท่าเป็นก้มมากขึ้นกลายเป็นท่าก้มหรือเงยมากขึ้นกลายเป็นท่าหน้าความก้าวหน้าของการคลอดขึ้นอยู่กับความสามารถในการเปลี่ยนท่ามาเป็นก้มหรือเงยท่านี้มักทำให้การเคลื่อนต่ำล่าช้าระยะที่ 2 ยาวนาน
สาเหตุ
เชิงกรานแคบหรือศีรษะทารกโต
ทารกมีรูปร่างผิดปกติ เช่น Anencephaly กระดูกสันหลังผิดปกติ
ผนังหน้าท้องหย่อนมากทำให้ลำตัวทารก
ลงไปข้างหน้าลำคอเหยียดตรงขึ้น
ครรภ์แฝดน้ำทำให้ศีรษะเคลื่อนได้อย่างอิสระ
มีสิ่งกีดขวางในช่องเชิงกรานที่ขัดขวางการลงของท้ายทอย
ผลกระทบ
การคลอดยาวนาน เนื่องจากใบหน้าอ่อนนุ่มไม่สามารถ
แนบกระชับกับช่องทางคลอดได้กระดูก ใบหน้าไม่สามารถ
เกิดการเกยกันเพื่อลดขนาดได้
ผู้คลอดและทารก มีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน
จากการคลอดยาวนานและใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
ผู้คลอดเหนื่อยล้ามีภาวะขาดน้ำจากการการคลอดยาวนาน
อาจเกิดภาวะมดลูกแตกจากการคลอดติดขัด
ฝีเย็บและช่องทางคลอดฉีกขาดมาก เนื่องจากเส้นผ่านศูนย์กลาง
ของส่วนที่ผ่านช่องคลอดออกมามีขนาดใหญ่
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อภาวะขาดออกซิเจน
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนดและอาจเกิดภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
เนื่องจากส่วนน้ำไม่แนบกระชับกับช่องทางคลอด
บริเวณใบหน้าริมฝีปากลิ้นของทารกบวมผิดรูป ผิดร่าง
อาจมีอาการหายใจลำบากหรือไม่ค่อยดูดนมและอาจมีเลือดออก
ในกะโหลกศีรษะร่วมด้วย
ท่าขวาง (Transverse lie)
ทารกที่อยู่ขวางกับลำตัวมารดา หรือ ทำมุมกับแนวของทางคลอด
และโพรงมดลูกบางรายอาจอยู่ในแนวเฉียงทารกท่าขวาง
มักมีไหล่หรือลำตัวเป็นส่วนนำแต่ถ้าถุงน้ำแตกอาจมีแขนเป็น
ส่วนนำทารกท่าขวางไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้จึงไม่มี
กลไกการคลอดหากปล่อยให้การคลอดดำเนินต่อไปไหล่ของทารก
จะเคลื่อนต่ำลงมาอัดแน่นอยู่ในช่องเชิงกรานทำให้เกิดการคลอดติดขัด
ได้ซึ่งจะเกิดอันตรายต่อมารดาและทารกได้
6.ท่าผสม (Compound presentation)
ท่าที่มีส่วนนำหลายอย่างพบบ่อยคือศีรษะกับมือ
มักต้องทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
2.ความผิดปกติของขนาดและรูปร่างของทารก :<3:
ทารกอาจมีความผิดปกติของขนาดและรูปร่าง
ทารกตัวโต (macrosomia) คือทารกที่น้ำหนักตั้งแต่ 4, 000 กรัมขึ้นไปทำให้คลอดยากเพราะศีรษะโตบางรายแม้จะคลอดศีรษะได้แต่อาจติดไหล
ทารกหัวบาตร (hydrocephalus) มีการอุดตันของการไหลเวียน
และการดูดซึมของน้ำไขสันหลังส่งผลให้เกิดการคั่งในสมองมากเกินไปศีรษะจึงมีขนาดใหญ่กว่าปกติทำให้มีการผิดสัดส่วนกับช่องเชิงกราน
การเคลื่อนออกไม่สะดวกและอาจเกิดมดลูกแตกได้
ทารกแฝดติดกัน (conjoined twins) มักทำให้ทารกมีขนาดใหญ่กว่าปกติส่งผลให้เกิดการคลอดยาก
ทารกท้องโตผิดปกติอาจพบในทารกท้องมานน้ำตับและไตโตทารกบวมน้ำส่งผลให้เกิดการคลอดยาก
ผลกระทบ
มักเกิดการคลอดยากคลอดยาวนานหรือคลอดติดขัด
ช่องทางคลอดอ่อนฉีกขาด
ความผิดปกติของขนาดและรูปร่างของทารก
ใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
ในรายที่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
รายที่ประเมินได้ล่วงหน้า หรือ รายที่
ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
มักพิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การคลอดไหล่ยาก (shoulder dystocia)
ภาวะที่ไหล่ทารกติดแน่นไม่สามารถคลอดออกมาได้ภายหลังจากศีรษะคลอดออกมาแล้ว
สาเหตุ
ทารกตัวโตมาก
ผู้คลอดเป็นเบาหวานหรือมีประวัติ
เป็นโรคเบาหวานในการตั้งครรภ์ก่อน
ผู้คลอดอ้วนโดยเฉพาะรายที่น้ำหนัก
มากกว่า 90 กิโลกรัมหรือน้ำหนักเพิ่มมากกว่า
15 กิโลกรัมตลอดการตั้งครรภ์-คาดคะเน
น้ำหนักทารกในครรภ์มากกว่า 4, 000 กรัม-
การตั้งครรภ์เกินกำหนด
ทารกมีเนื้องอกหรือพิการบริเวณต้นคอ
ไหล่และทรวงอก
ช่องเชิงกรานแคบ
ผลกระทบ
ทารกเสียชีวิตจากภาวะ chromic brain injur
ผู้คลอดช่องทางคลอดฉีกขาดหรือชอกช้ำ
ได้แก่ บริเวณปากช่องคลอดฝีเย็บ
ผนังช่องคลอดกระเพาะปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะทวารหนัก
ทารกขาดออกซิเจนขณะคลอดจากการคลอดไหล่ยาก
ผู้คลอดตกเลือดหลังคลอดจากช่องทางคลอดฉีกขาดหรือมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
ทารกบาดเจ็บจากการช่วยคลอด เช่น
เส้นประสาทไขสันหลังระดับคอบาดเจ็บ
(brachial plexus injury / Erb-Duchene paralysis) กระดูกต้นแขนกระดูกไหปลาร้า หรือ
กระดูกต้นคอหัก หรือ เคลื่อนกล้ามเนื้อคอฉีกขาด
ผู้คลอดได้รับอันตราย ได้แก่ มดลูกแตกการติดเชื้อหลังคลอดกระเพาะปัสสาวะไม่ทำงาน จากระยะการคลอดยาวนานหรือช่วยคลอดด้วยวิธีการต่างๆ
สายสะดือถูกกดทับตรงตำแหน่งระหว่างลำตัว
ทารกกับกระดูกช่องเชิงกราน
ส่งผลให้ทารกขาดออกซิเจนหรือเสียชีวิต
หากช่วยเหลือช้า
นางสาวณิชกานต์ พันธ์จินดา
เลขที่ 26
รหัสนักศึกษา 601401027