Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน, unnamed, ุ, image, People_1 - Coggle…
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
สภาพชุมชน
การปฏิบัติการชุมชน (Community Action)
ชุมชนเข้มแข็ง (Strong Community)
ชุมชนที่สามารถแก้ไขปัญหาได้ด้วยตัวเอง
การเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน (CommunityStrengthening)
ชุมชน (Community)
กลุ่มคนหรือประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่เดียวกัน โดยมีปฎิสัมพันธ์ ผลประโยชน์ และเป้าหมายร่วมกัน
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน
การเสริมสร้างพลังอ านาจชุมชน (CommunityEmpowerment)
การมีส่วนร่วมของชุมชน (Community Participation)
กฎบัตรออตตาวา
สร้างความเข้มแข็งให้แก่ปฏิบัติการชุมชน (Strength community action)
พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (Develop personal skill)
สร้างสรรค์สภาพแวดล้อม ที่สนับสนุนสุขภาพ (Create supportive environment for health)
ปรับเปลี่ยนบริการสุขภาพ (Reorient health services)
สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Build healthy public policy)
ชุมชน
ความหมาย
ประชาชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่ใด พื้นที่หนึ่ง มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันหรือกลุ่มคนที่มีความสนใจหรือมีเป้าหมายหรือมีลักษณะบางประการร่วมกัน
ประชาชนที่อยู่ในหมู่บ้าน ตำบล อำเภอเดียวกันหรือกลุ่มคนทำงานที่อยู่ในโรงงาน นักเรียนที่อยู่ในโรงเรียน
บุคลากรสุขภาพในหน่วยบริการเดียวกัน
องค์ประกอบ
คนหรือกลุ่มคน
เป้าหมายและความต้องการของชุมชน
สิ่งแวดล้อมของชุมชน
ระบบบริการในชุมชน
ขอบเขตของชุมชน
สุขภาพชุมชน
องค์ประกอบ
สถานะทางสุขภาพของชุมชน (Health Status)
โครงสร้างของชุมชน (Structure)
กระบวนการที่เกิดขึ้นในชุมชน (Process)
สภาวะที่สุขภาพสมบูรณ์ ทั้งด้สนร่างกาย จิตใจ และจิตวิญญาณ
กลุ่มเป้าหมายของการดูแลสุขภาพชุมชน
กลุ่มคนที่มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหา
กลุ่มคนจ าแนกตามอายุและพัฒนาการ
กลุ่มคนจ าแนกตามปัญหาสุขภาพและภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ
กลุ่มผู้ป่ วย
กลุ่มคนพิการ
กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
strong community
การที่ประชาชนในชุมชนมีการรวมตัวกัน เป็นองค์กรชุมชนโดยมีการเรียนรู้การจัดการและการแก้ไขปัญหาของชุมชน
ชุมชนที่มีขีดความสามารถในการจัดการปัญหาของตนเอง
การมีส่วนร่วมของชุมชน
การให้โอกาสประชาชนเป็ นผู้ตัดสินใจและก าหนดความต้องการของตนเอง
ระดับการมีส่วนร่วม
ขั้นที่ 4 การให้ความร่วมมือ
ขั้นที่ 3 การเข้าไปเกี่ยวข้อง
ระดับที่ 5 การเสริมสร้างพลังอำนาจประชาชน
ขั้นที่ 2 การปรึกษาหารือ
ขั้นที่ 1 การรับรู้ข่าวสาร
การเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
กระบวนการ
ขั้นตอนที่1 ก าหนดเป้ าหมายให้ชัดเจน
ขั้นตอนที่2 ก าหนดแผนปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่3 แสวงหาหรือสร้างสรรค์ผู้น ากลุ่มที่เหมาะสมในชุมชน
ขั้นตอนที่4 เสาะแสวงหาบุคคลที่เป็ นแกนน า
ขั้นตอนที่5 จดบันทึกการปฏิบัติงานและการรับรู้ผลงาน
ขั้นตอนที่6 ขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ขั้นตอนที่7 ขยายผลของความส าเร็จในในงาน
การเสริมสร้างความเข้มแข็ง
องค์ประกอบ
การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้อให้กับการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน
เครื่องมือและกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
องค์กรหลักในพื้นที่
หลักการ
การส่งเสริมกระบวนการพัฒนาในชุมชน
ส่งเสริมการรวมกลุ่มองค์กรท างานร่วมกัน
การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชน
ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการแก้ไข
รูปแบบกลยุทธิ์
ใช้ภูมิปัญญา ท้องถิ่นเป็นฐาน
ทุนทางสังคมของชุมชนสู่ความเข้มแข็งพึ่งตนเอง
การพัฒนาชุมชนที่เน้นชุมชนเป็ นพลังขับเคลื่อน
พลังอำนาจชุมชน
ตามกฎบัตรออตตาวา
เพิ่มอำนาจให้ชุมชน
พัฒนาทรัพยากรในชุมชน
ปฏิบัติการชุมชนที่มั่นคง
กระบวนการสร้างเสริมความเข้มแข็งชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมคน
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเข้มแข็ง การสื่อสาร สภาพปัญหาและความต้องการ
ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงการและประเมินผล
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาทรัพยากรบุคคล
ปัจจัยสนัยสนุน
ภายนอก
แหล่งสนับสนุนความเข้มแข็งของชุมชน
เครือข่ายความร่วมมือและการแข่งขันระหว่างชุมชน
ภายใน
ความเชื่อหรืออุดมการณ์ร่วมของชุมชน
ทุนทางสังคม
อิทธิพลของผู้น าและหรือผู้ปกครองชุมชน
ระบบข้อมูลข่าวสารในชุมชน
การสื่อสารในชุมชน
ความร่วมมือในชุมชน ความขัดแย้งและปฏิเสธ
การมีกิจกรรมร่วมกันของชุมชนอย่างต่อเนื่อง
บทบาทของพยาบาล
เห็นคุณค่าความเป็ นคนและตนเองและเพื่อนมนุษย์
มีศักยภาพในการเป็ นพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพ
มองทุกอย่างแบบบูรณาการ
ประสานงานได้รอบด้าน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564
ุ