Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค - Coggle Diagram
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
Immune system ระบบที่ทำหน้าที่คุ้มกันร่างกาย ประกอบด้วยสารน้ำเเละเซลล์หลายพวกทำหน้าที่ร่วมกัน
การสร้างภูมิคุ้มกันเป็นหน้าที่ของเม็ดเลือดขาว 2 ชนิด
B lymphocyte จะสร้าง antibody กระเเสเลือด มีคุณสมบัติในการป้องกันไม่ให้เป็นโรคครั้งต่อไป
T lymphocyte จะกระตุ้นให้เกิดการเพิ่มจำนวนของเม็ดเลือดขาว มีคุณสมบัติในการทำลายเชื้อที่ทำให้เกิดโรคโดยตรง
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
มีความทรงจำ (Memory)
Primary response
มีความจำเพาะ (Specificity)
Secondary response
ความรู้เรื่องการให้วัคซีน
Active Immunization วัคซีนเตรีมมาจากเชื้อทำให้เกิดโรคทั้งหมดหรือบางส่วน อาจเป็นเชื้อที่ตายเเล้วหรือยังมีชีวิตอยู่ เเต่ทำให้อ่อฤทธิ์ลง ทำหน้าที่เป็น Antigen
Passive Immunization การให้ Antibody มีผลป้องกันได้ทันทีที่เข้าไปในร่างกาย ซึ่งจะให้ในกรณีที่ต้องให้การป้องกันอย่างรีบด่วน antibody ที่ให้เข้าไปนี้จะอยู่ในร่างกายในระยะเวลาสั้นๆประมาณ
3-4 สัปดาห์
วัคซีนชนิดเชื้อไม่มีชีวิต (Inactivated หรือ killed vaccine)
วัคซีนชนิดเชื้อมีชีวิต (Livea attenuated) หรือ Lived attenuated vaccine
Toxoid
วิธีการให้วัคซีน
Oral route
การฉีด (Perenteral route)
การฉีดเข้าในหนัง (Intradermal หรือ Intracutaneous route)
การฉีดเข้าใต้หนัง (Subcutaneous route)
การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (Intramuscular route)
BCG
ผู้ที่เคยได้รับการฉีดวัคซีน BCG แล้วโดยยืนยันว่าเคยมีปฏิกิริยาเป็นตุ่มนูนหลังจากที่ถูกฉีดมาก่อนในวัยทารกแต่ไม่มีรอยเป็นหลงเหลือ เมื่อโตขึ้นไม่จำเป็นต้องฉีดช้ำ
BCG อาจทำให้ PPD Skin test มีปฏิกิริยาโตฏว่า 10 มม.ได้
BCG สามารถให้พร้อมกับวัคซีนอื่นๆได้
Hep B
เเรกเกิด -10 ปี ฉีดครั้งละ 0.5 มล.เข้ากล้ามเนื้อครบชุด 3 ครั้ง ส่วนอายุมากกว่า 10 ปี ฉีดครั้งละ1 มล.เข้ากล้ามเนื้อครบชุด 3 ครั้ง
ในกรณีไม่ได้รับวัคซีนเมื่อเเรกเกิด ให้ฉีดเข็มเเรกทันที และฉีดเข็มที่ 2 เเละ3 ห่างจากเข็มเเรก 1-2 เดือนเเละ 6 เดือนตามลำดับ
เป็นวัคซีนที่เตรียมจากโปรตีนผิวนอกของของเชื้อไวรัสตับอักเสบบี (2,4,6 เดือน)
เด็กที่ไม่เคยได้รับตับอักเสบบีมาก่อน ถ้าเด็กอายุน้อยกว่า 11 ปี สามารถฉีดวัคซีนได้ในเดือนที่ 0,1,6 ตามลำดับ ส่วนเด็กอายุ 11 - 15ปี อาจใช้ HBVax ProTM ฉีดเพียง 2 ครั้ง ในเดือนที่ 0 เเละเดือนที่ 4-6 โดยใช้วัคซีนขนาด 1.0 มล.เท่ากับผู้ใหญ่
Hep B
ในกรณีตรวจพบว่าเเม่เป็นพาหะของโรค โดยเฉพาะถ้า HBe Ag เป็นบวกด้วย เด็กเเรกจะได้รับอิมโมโนโกลบุลิน (Hepatitis B Immune Globulin: HBIG) 0.5 ml. ภายใน 12 ชม.หลังคลอด ร่วมกับวัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี พร้อมกับคนละตำแหน่งเเละนีดมารับวัคซีคครั้งที่ 2 ห่างจากครั้งเเรก 1 เดือน (0,1,6)
เก็บที่ 4-8 องศา ห้ามเเช่เเข็ง เก็บได้นาน 3 ปี
เป็นปฏิกิริยาเฉพาะที่มีปวดบวมบริเวณที่ฉีด อาจมีไข้ต่ำๆ อาจเกิดขึ้นประมาณ 3-4 ชม.
เปิดใช้เเล้วเก็บไว้ได้ไม่เกิน 8 ชม.
DTP
ให้วัคซีนกระตุ้น Booster dose ภายหลังฉีดครบชุดแรกเเล้วเมื่ออายุ 4-5 ปี
สามารถใช้ชนิดไร้เซลล์ DTaP แทนชนิด DTwp ได้ทุกครั้ง
การให้วัคซีนชุดเเรก เริ่มเมื่ออายุเด็ก 2-3 เดือน รวม 3 ครั้ง ห่างกันประมาณ 1-2 เดือน ให้ครั้งที่ 4 เมื่ออายุ 18-24 เดือน นับเป็นการให้วัคซีนครบทุกตัว
หากใช้ DTaP ควรใช้ชนิดเดียวกันทั้ง 3 ครั้ง เมื่ออายุ 2,4,6 เดือน หากไม่สามารถใช้ชนิดเดียวกันได้ให้ใช้ชนิดใดแทนก็ได้
ฉีดขนาด 0.5 มล. เข้ากล้ามเนื้อต้นขาบริเวณด้านนอกในเด็กเล็ก หรือต้นเเขนในเด็กโตเเละผู้ใหญ่
สำหรับเข็มที่กระตุ้นที่ 18 เดือน อาจใช้ DTwP หรือ DTaP ชนิดใดก็ได้
MMR
ฉีดครั้งละ 0.5 มล. ในชั้นใต้ผิวหนัง (subcutaneous) ครั้งเเรกเมื่ออายุ 9-12 เดือน ครั้งที่สองเมื่ออายุ 2 1/2 ปี
เปิดใช้เแล้วเก็บได้ไม่เกิน 6 ชม.
เป็นวัคซีนเตนรยมจากไวรัสมีชีวิต ตามโครงการ EPI
ไม่ให้ในสตรีมีครรภ์หรือกำลังตั้งครรภ์ใน 3 เดือนข้างหน้า
Polimyelitis
สำหรับผู้ที่ติดเชื้อ HIV องค์การอนามัยโรคเเนะนำให้ OPV แก่เด็กที่ติดเชื้อ HIV ได้ รวมทั้งเด็กที่มีอาการของโรคเอดส์ด้วย
ไม่ควรให้ OPV ในหญิงตั้งครรภ์โดยไม่จำเป็น
OPV เป็นเชื้อที่มีชีวิต ดังนั้นจึงไม่ให้ในเด็กที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่องแต่กำเนิดหรือได้รับยากดภูมิกันในการรักษามะเร็งเม็ดเลือดขาว
Hepatitis A Vaccine
ปวดบริเวณที่ฉีด เเต่ไม่รุนเเรง หายเองได้อาจเบื่ออาหาร ปวดศรีษะ ไข้ อ่อนเพลีย
ควรใช้อย่างระมัดระวังในผู้ที่มีเกร็ดเลือดลดลง หรือมีความผิดปกติของการเเข็งตัวของเลือด