Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน - Coggle Diagram
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ชุมชน
องค์ประกอบของชุมชน
สิ่งแวดล้อมของชุมชน
ระบบบริการในชุมชน
เป้าหมายและความต้องการของชุมชน
ขอบเขตของชุมชน
คนหรือกลุ่มคน
ความหมาย
ความหมายที่ 2 ประชาชนที่อยู่ในหมู่บ้าน ตำบลอำเภอเดียวกันหรือกลุ่มคนทำงานที่อยู่ในโรงงาน นักเรียนที่อยู่ในโรงเรียน บุคลากรสุขภาพในหน่วยบริการเดียวกัน สมาชิกในสมาคม ชมรมมูลนิธิ องค์กร กลุ่ม หน่วยงานหรือเครือข่ายองค์กรใด องค์กรหนึ่ง
ความหมายที่ 1 ประชาชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่ใด พื้นที่หนึ่ง มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันหรือกลุ่มคนที่มีความสนใจ หรือมีเป้าหมายหรือมีลักษณะบางประการร่วมกัน มีแบบแผนการดำเนินชีวิต มีวัฒนธรรมประเพณีการติดต่อสื่อสารและการ ตัดสินใจร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและความต้องการของชีวิต
สุขภาพชุมชน
คือ
สภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ทั้งในมิติ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญาณของชุมชนทั้งชุมชนโดยรวม
องค์ประกอบของสุขภาพชุมชน
โครงสร้างของชุมชน (Structure)
สถานะทางสุขภาพของชุมชน (Health Status)
กระบวนการที่เกิดขึ้นในชุมชน (Process)
กลุ่มเป้าหมายของการดูแลสุขภาพชุมชน
กลุ่มคนจำแนกตามปัญหาสุขภาพและภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ
กลุ่มผู้ป่วย
กลุ่มคนจำแนกตามอายุและพัฒนาการ
กลุ่มคนพิการ
กลุ่มคนที่มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาระดับชุมชน (ผู้นำที่เป็นทางการและผู้นำทางธรรมชาติ)
กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
ชุมชนเข้มเเข็ง
การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
กฎบัตรออตตาวา
หัวใจของขบวนการนี้ คือ การเพิ่มอำนาจให้ชุมชนให้มีความเป็นเจ้าของและควบคุมกิจกรรม และโชคชะตาของชุมชนเอง
การส่งเสริมสุขภาพทำได้โดยผ่านทาง “ปฏิบัติการชุมชน”ที่มั่นคงและมีประสิทธิผลในการจัดลำดับความสำคัญ การตัดสินใจ การวางแผนกลยุทธ์ แล้วดำเนินการเพื่อให้เกิดสุขภาพที่ดีขึ้น
หลักการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การส่งเสริมกระบวนการพัฒนาในชุมชนในลักษณะ ร่วมคิด ร่วมทำและร่วมเรียนรู้
ส่งเสริมการรวมกลุ่มองค์กรทำงานร่วมกัน
การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้สามารถ รวมกลุ่มร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันรับผิดชอบ
ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการแก้ไข ปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบของการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้อให้กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
เครื่องมือและกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
องค์กรหลักในพื้นที่
รูปแบบกลยุทธ์การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน
การเสริมสร้างสมรรถนะของชุมชนโดยการสร้างเสริมพลังทุนทางสังคมของชุมชนสู่ความเข้มแข็งพึ่งตนเอง
การพัฒนาชุมชนที่เน้นชุมชนเป็นพลังขับเคลื่อน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนด้วยการเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน
คือ
ชุมชนที่มีขีดความสามารถในการจัดการปัญหาของตนเอง ได้ระดับหนึ่ง ด้วยการมีผู้นำที่มีความสามารถ มีการเรียนรู้ ร่วมกันอย่างต่อเนื่อง บนพื้นฐานวัฒนธรรมความเชื่อ คุณค่า ศาสนาและเศรษฐกิจชุมชนที่พึ่งพาเอื้อเฟื้อกันและกัน โดยใช้ศักยภาพของชุมชนจัดการแก้ไขปัญหาได้ด้วยตนเอง ภายใต้ความร่วมมือสนับสนุนจากองค์กรภายนอก
การที่ประชาชนในชุมชนมีการรวมตัวกัน เป็นองค์กรชุมชน โดยมีการเรียนรู้การจัดการและการแก้ไขปัญหาของชุมชนซึ่ง ทำให้ชุมชนมีการเปลี่ยนแปลงหรือเกิดการพัฒนาด้าน เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน ตลอดจนมีผลกระทบสู่ภายนอกชุมชน
การมีส่วนร่วมของชุมชนและการเป็นหุ้นส่วนของชุมชน
ความหมาย
การให้โอกาสประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจและกำหนดความต้องการของตนเองอย่างแท้จริงเป็นการเสริมพลังให้แก่ประชาชน กลุ่มองค์กรชุมชนให้สามารถ พัฒนาศักยภาพของตนเอง ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร การควบคุมดูแล การกำหนดแนวทางการดำรงชีวิตด้วยตนเองของชุมชนและ การเข้าร่วมอย่างมีอิสระในกิจกรรมของชุมชนที่มีวัตถุประสงค์และมีเป้าหมายชัดเจน
ลักษณะที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ของการมีส่วนร่วมของชุมชน
การเข้าไปเกี่ยวข้อง
ดำเนินงาน
รับผลประโยชน์
วางแผน
ประเมินผล
ริเริ่ม
คิดพัฒนาให้ดีขึ้น
การเป็นหุ้นส่วน
ทำงานร่วมกันภายใต้บรรยากาศของการ ทำงานที่ความเท่าเทียวกัน
เคารพซึ่งกันและกัน
สนใจร่วมกันยินดี
ร่วมตัดสินใจ
รับผิดชอบดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายเพื่อชุมชนหรือสังคม
บุคคล กลุ่มของบุคคล องค์กร หน่วยงาน
ระดับของการมีส่วนร่วมของชุมชน
ขั้นที่3 การเข้าไปเกี่ยวข้อง (Involve)
ขั้นที่2 การปรึกษาหารือ (Consult)
ขั้นที่4 การให้ความร่วมมือ (Collaborate)
ขั้นที่1 การรับรู้ข่าวสาร (Inform)
ระดับที่ 5 การสร้างเสริมพลังอำนาจประชาชน (Collaborate)
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน
ภูมิปัญญาไทย
ความรู้ ความสามารถ ทักษะและเทคนิคการตัดสินใจผลิตผลงานของบุคคล อันเกิดจากการสะสมองค์-ความรู้ทุกด้านที่ผ่านกระบวนการสืบทอดพัฒนาปรับปรุง และเลือกสรรมาแล้ว เป็นอย่างดีสามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดขึ้นได้เอง และนำมาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นเทคนิควิธีเป็นองค์ความรู้ของชาวบ้าน ทั้งทางกว้างและทางลึกที่ชาวบ้านคิดเอง ทำเอง โดยอาศัยศักยภาพที่มีอยู่แก้ปัญหาการดำเนินชีวิตในท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัยความเหมือนกัน ของภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ เป็นองค์ความรู้ และเทคนิคที่นำมาใช้ในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจซึ่งได้สืบทอดและเชื่อมโยงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
ภูมิปัญญา
ความรู้ ความสามารถ ทักษะความเชื่อ และ ศักยภาพในการแก้ปัญหาของมนุษย์ที่สืบทอดกันมาจากอดีตถึงปัจจุบันอย่างไม่ขาดสายและเชื่อมโยงกันทั้งระบบ ทุกสาขา
การเสริมสร้างสมรรถนะของชุมชนโดยการสร้างเสริมพลังทุนทางสังคมของชุมชนสู่ความเข้มแข็งพึ่งตนเอง
ทุนทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธ์ทางสังคมหรือโครงสร้างทางสังคมที่เราสามารถเรียกเอา ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากมันได้
ทุนทางสังคมเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน กิจกรรมร่วมมือกัน ยิ่งมีมากเท่าไรก็อาจเป็นผลดี ในแง่ที่ว่า เกิดการเรียนรู้ รับรู้ และส่งผ่านข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ทำให้เกิดคุณค่าบางอย่างที่ สามารถยึดโยงและยอมรับร่วมกัน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ด้วยการเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน
หลักของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
พัฒนาความคิดความเข้าใจของตนในด้านบวกเพิ่มขึ้น
พัฒนาความเข้าใจเชิงวิเคราะห์ต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคมและทางการเมือง
พัฒนาความเชี่ยวชาญและแหล่งทรัพยากรที่จะใช้ปฏิบัติการในกิจกรรมทางสังคมและการเมือง
จุดมุ่งหมายของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับบุคคลและผู้ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา นั้น ๆ สามารถแก้ไขหรือป้องกันปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นแล้วได้เป็นอย่างดี
เพื่อที่จะให้ชุมชนและบุคคลมีความสามารถในการควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อตนเอง
กระบวนการการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
ขั้นตอนที่3 แสวงหาหรือสร้างสรรค์ผู้นำกลุ่มที่เหมาะสมในชุมชน
ขั้นตอนที่4 เสาะแสวงหาบุคคลที่เป็นแกนนำ
ขั้นตอนที่2 กำหนดแผนปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่5 จดบันทึกการปฏิบัติงานและการรับรู้ผลงาน
ขั้นตอนที่1 กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน
ขั้นตอนที่6 ขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ขั้นตอนที่7 ขยายผลของความสำเร็จในในงาน
ประโยชน์ของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
ความพร้อม (Hardiness)
ความตระหนักต่อตนเอง (Self Esteem)
ความสามารถแห่งตน (Self Efficacy)
กระบวนการสร้างเสริมความเข้มแข็งชุมชน
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเข้มแข็ง การสื่อสาร สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมคน
ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงการและประเมินผล (ร่วมมือเป็นเครือข่าย)
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาทรัพยากรบุคคล
ปัจจัยที่สนับสนุนและท้าทายการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ปัจจัยภายใน
ทุนทางสังคม
ความเชื่อหรืออุดมการณ์ร่วมของชุมชน
อิทธิพลของผู้นำและหรือผู้ปกครองชุมชน
ระบบข้อมูลข่าวสารในชุมชน
การมีกิจกรรมร่วมกันของชุมชนอย่างต่อเนื่อง
การสื่อสารในชุมชน
ความร่วมมือในชุมชน ความขัดแย้งและปฏิเสธ
ปัจจัยภายนอก
แหล่งสนับสนุนความเข้มแข็งของชุมชน
เครือข่ายความร่วมมือและการแข่งขันระหว่างชุมชน
บทบาทและสมรรถนะของพยาบาลในการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน
มีศักยภาพในการเป็ นพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพ
มองทุกอย่างแบบบูรณาการ
เห็นคุณค่าความเป็ นคนและตนเองและเพื่อนมนุษย์
ประสานงานได้รอบด้าน
Community Ownership
ในกระบวนการตัดสินใจ และยอมรับผลที่เกิดขึ้น จากกระบวนการนั้น
ในกระบวนการตัดสินใจและยอมรับผลที่ เกิดขึ้นจากกระบวนการนั้น
ในการมีสิทธิ์ออกเสียง และร่วมคิดร่วมทำในกระบวนการพัฒนา
Ottawa Charter
เสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง(Strengthen community action)
พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (develop personal skills)
สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (create supportive environment)
ปรับเปลี่ยนบริการสาธารณสุข (reorient health services)
สร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (build healthy public policy)