Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน - Coggle Diagram
การสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
ความหมาย
ประชาชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่ใด พื้นที่หนึ่ง มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันหรือกลุ่มคนหรือมีเป้ าหมายหรือมีลักษณะบางประการร่วมกัน มีแบบแผนการดำเนินชีวิต มีวัฒนธรรมประเพณีการสื่อสารและการตัดสินใจร่วมกันเพื่อให้บรรลุเป้าหมายและความต้องการของชีวิต
พื้นที่ทางภูมิศาสตร์
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
ความรับผิดชอบทางการเมืองและสังคม
องค์ประกอบของชุมชน
คนหรือกลุ่มคน
เป้าหมายและความต้องการของชุมชน
สิ่งแวดล้อมของชุมชน
ระบบริการของชุมชน
ขอบเขตของชุมชน
สุขภาพชุมชน
สภาะวสุขภาพที่สมบูรณ์ ทั้งในมิติ ด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และ จิตวิญญาณของชุมชนทั้งชุมชนโดยรวม
องค์ประกอบของสุขภาพชุมชน
สถานะทางชุมชน
โครงสร้างของชุมชน
กระบวนการที่เกิดขึ้นในชุมชน
กลุ่มเป้าหมายของการดูแลสุขภาพชุมชน
กลุ่มคนที่มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาระดับชุมชน
กลุ่มคนจำแนกตามอายุและพัฒนาการ
กลุ่มคนจำแนกตามปัญหาสุขภาพและภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ
กลุ่มผู้ป่วย
กลุ่มคนพิการ
กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
ชุมชนเข้มแข็ง
คือ
การที่ประชาชนในชุมชนมีการรวมตัวกันเป็นองค์กรชุมชน โดยมีการเรียนรู้การจัดการและการแก้ไขปัญหาของชุมชนซึ่งทำให้ชุมชนมีตลอดจนมีผลกระทบสู่ภายนอกชุมชน ส าหรับกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนจะต้องเป็นการด าเนินงานแบบร่วมคิดร่วมทำและมีการเรียนรู้เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อันจะนำไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนในระยะยาว
หลักการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้สามารถรวมกลุ่มร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันรับผิดชอบ
การส่งเสริมกระบวนการพัฒนาในชุมชนในลักษณะ ร่วมคิด ร่วมทำและร่วมการเรียนรู้
ส่งเสริมการรวมกลุ่มองค์กรทำงานร่วมกัน
ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบ
มีบุคคลที่มีความหลากหลายที่รวมตัวกันเป็นองค์กรชุมชน
การมีเป้าหมายร่วมกันและยึดโยงเกาะเกี่ยวกันด้วยผลประโยชน์สาธารณะร่วมกันของสมาชิกในชุมชน
การมีจิตสำนึกของการพึ่งพาตนเองและรักษาเอื้ออาทรต่อกัน
การมีอิสระในการร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมท าและร่วมกันรับผิดชอบ
มีการระดมการใช้ทรัพยากรในชุมชนอย่างเต็มที่และมีประสิทธิภาพ
การมีการเรียนรู้ เชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายและติดต่อสื่อสารกันหลากหลายรูปแบบ
รูปแบบกลยุทธ์
การพัฒนาชุมชนที่เน้นชุมชนเป็นพลังขับเคลื่อน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นเป็นฐาน
การเสริมสร้างสมรรถนะของชุมชนโดยการสร้างเสริมพลัง
ทุนทางสังคมของชุมชนสู่ความเข้มแข็งพึ่งตนเอง
การเสริมสร้างสมรรถนะของชุมชนโดยการสร้างเสริมพลัง
ทุนทางสังคมของชุมชนสู่ความเข้มแข็งพึ่งตนเอง
การมีส่วนร่วมของชุมชนและการเป็นหุ้นส่วนของชุมชน
การให้โอกาสประชาชนเป็ นผู้ตัดสินใจและกำหนดความต้องการของตนเองอย่างแท้จริงเป็นการเสริมพลังให้แก่ประชาชน กลุ่มองค์กรชุมชนให้สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรการควบคุมดูแล
ระดับ
ขั้นที่ 1 การรับรู้ข่าวสาร
ขั้นที่ 2 การปรึกษาหารือ
ขั้นที่ 3 การเข้าไปเกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 4 การให้ความร่วมมือ
ขั้นที่ 5 การสร้างเสริมพลังอำนาจประชาชน
หลักของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
พัฒนาความคิดความเข้าใจของตนในด้านบวกเพิ่มขึ้น
พัฒนาความเข้าใจเชิงวิเคราะห์ต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคม
และทางการเมือง
พัฒนาความเชี่ยวชาญและแหล่งทรัพยากรที่จะใช้
ปฏิบัติการในกิจกรรมทางสังคมและการเมือง
กระบวนการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาทรัพยากรบุคคล
เป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ รู้ลึก รู้กว้าง รู้ไกล
มีความสามารถในการวิเคราะห์ปัญหา และวางแผนแก้ไขทั้งในระยะสั้นและยาว
มีความสามารถจดจำ ใฝรู้ ใฝ่เรียน
มีความสมารถในการบริหารจัดการ
มีความสามารถในการรับฟังผู้อื่น
ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมคน
เป็นหัวใจสำคัญของการพัฒนา องค์กรชุมชนจะเข้มแข็งไม่ได้หากผู้นำในชุมชนและประชาชนขาดจิตสำนึก ขาดความรู้ความเข้าใจในการกำหนดปัญหา การพัฒนาทางเลือก เพื่อดำเนินกิจกรรมการบริหารจัดการ
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเข้มแข็ง การสื่อสาร สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
การมีสื่อประชาสัมพันธ์ ที่ได้มีการด าเนินงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ซึ่งมีส่วนต่อการสนับสนุนชุมชน ได้มีความรู้ ความเข้าใจ ยอดรับและเข้ามาส่วนร่วมกิจกรรมการในชุมชนมากๆ
ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา
้เพื่อดำเนินกิจกรรม กำหนดและวางกรอบประเด็นปัญหาโดยชุมชน มีการทำกิจกรรมอย่างต่อเนื่องเชื่อมโยงไปกับการพัฒนาทางเลือกในการดำเนินกิจกรรมเพื่อแก้ไขปัญหา ทั้งนี้ เพราะการพัฒนาทางเลือกร่วมกันย่อมนำไปสู่การดำเนินกิจกรรมร่วมกัน
ั้ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงการและประเมินผล (ร่วมมือเป็นเครือข่าย
เป็นกิจกรรมที่เกิดขึ้นหลายกรณี เช่น กรณีปัญหา กรณีความสนใจ ทำให้มีการรวมพลัง มรการสนทนาอย่างพินิจพิเคราะห์ ริเริ่มกิจกรรมอย่างสร้างสรรค์ เรียนรู้และสรุปบทเรียนร่วมกัน