Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหา…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล
บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาระบบทางเดินหายใจ
โรคในระบบทางเดินหายใจที่พบบ่อย
โรคที่เกิดจากการติดเชื้อ
โรคหวัด
คออักเสบ
ปอดอักเสบ
วัณโรค
โรคที่เกิดจากสาเหตุอื่น
หอบหืด
โรคภูมิแพ้
ถุงลมโป่งพอง
มะเร็งปอด
หน้ากากออกซิเจนพร้อมถุงเก็บออกซิเจน (reservior mask) ให้ออกซิเจนมากกว่า 90% 10-15 ลิตร/ นาที
ิหน้ากากออกซิเจนที่ต่อกับลิ้นที่มีช่องระบายอากาศ(venturi mask)ให้ออกซิเจน24%-50% 3-8 ลิตร/ นาที
ชนิดกระโจม (oxygen tent) ให้ออกซิเจน 21%-
30%
ชนิดครอบท่อเจาะคอ (tracheostomy collar)ให้ออกซิเจน 21%-100% 12-15 ลิตร/ นาที
ขั้นตอนการให้ออกซิเจน
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้ง
อธิบายให้ผู้ป่วยทราบเกี่ยวกับจุดประสงค์ของการให้ออกซิเจน
จัดให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง30-90 องศา
ต่อเครื่องควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจน
เติมน้ำกลั่นปราศจากเชื้อลงในเครื่องทำความชื้น
ปรับอัตราการไหลออกซิเจนไม่ควร เกิน 6 ลิตร/นาที
การดูแลส่งเสริมให้ผู้ป่วยวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุได้รับออกซิเจน
การจัดท่า ท่าที่ท าให้ทรวงอกขยายตัวได้ดี คือ ท่านอนศีรษะสูง
การสอนเทคนิคการหายใจ
การหายใจเข้า-ออกลึกๆ
การผ่อนลมหายใจออกทางปาก
การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อกระบังลม
การกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้หายใจอย่างมีประสิทธิภาพ incentive spirometer
การให้ออกซิเจนเพื่อให้ระดับออกซิเจนในกระแสเลือดปกติ
แหล่งออกซิเจน
ออกซิเจนบรรจุ
ถังสามารถเคลื่อนย้ายได้และออกซิเจนระบบท่อ
เครื่องทำความชื้น
อุปกรณ์ให้ออกซิเจน
ชนิดสายยางเข้าจมูก (nasal cannula) ให้ออกซิเจน 22%-44%
ชนิดหน้ากากออกซิเจน (simple mask) ให้
ออกซิเจน 40%-60%
การขจัดเสมหะออกจากทางเดินหายใจ
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
นั่งตัวตรง
ก้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย
หายใจเข้า-ออกลึก ๆ ช้า ๆ 3-4 ครั้ง
ไอออกมาแรง ๆ
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับน้ำ 2-3ลิตร
การพ่นละอองฝอย
การเคาะปอด
การดูดเสมหะ
หายใจเสียงดังครืดคราดกระสับกระส่าย
อัตราการเต้นของชีพจร
การหายใจเพิ่มขึ้น
มีอาการเขียวคล้ำ
Oral nasal pharyngeal airway ท่อสั้นๆ เพื่อให้ทางเดินหายใจส่วนต้นโล่ง
ท่อหลอดลมคอ(endotracheal tube) เป็นการใส่ท่อเข้าในหลอดลมโดยตรงโดยใส่เข้าทางปากหรือจมูก
ท่อเจาะหลอดลมคอ(tracheostomy
tube)
ใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยต้องใส่ท่อหลอดลมนานเกิน10-
14 วัน
การดูแล
ระมัดระวังเลือดออกไปอุดกั้นหมั่นดูดเสมหะให้
การดูแลต้องการพื้นฐานของบุคคลด้านอากาศเพื่อการหายใจ
การสังเกตลักษณะการหายใจ
อัตราการหายใจ
การฟังเสียงปอด
นับอัตราการเต้นของหัวใจ
ค่าความดันโลหิต
ระดับความรู้สึกตัว
สีของผิวหนัง
สีของริมฝีปาก
สีของเยื่อบุภายในปาก
สีของเล็บ
โดยผู้ที่มีภาวะพร่องออกซิเจนจะมี
ใช้กล้ามเนื้อบริเวณล าตัวช่วยในการหายใจ
ลักษณะซี่โครงบาน
ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้น
สับสน ซึม จนถึงขั้นไม่รู้สึกตัว
สีผิวเขียวคล้ า (cyanosis)
นอนราบแล้วมีอาการเหนื่อย ต้องลุกนั่งจึงจะหายใจได้ดีขึ้น
อัตราการหายใจที่เร็ว และตื้น
อัตราการเต้นของหัวใจเร็วกว่าปกติ กระสับกระส่าย
การวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดค่าปกติคือ 95-100%
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนบน
จมูก
คอหอย
อวัยวะในทางเดินหายใจส่วนล่าง
หลอดลม
หลอดลมปอด
หลอดลมฝอย
ปอด (Lung)
กะบังลม Diaphragm
กระบวนการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
่หายใจเข้ากะบังลมจะเลื่อนต่ำลงพื้นที่ช่องอกมากขึ้น
ก๊าซออกซิเจนจะแพร่เข้าสู่หลอดเลือดแดงและไหลเวียนไปเลี้ยงเซลล์ต่างๆ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากทั่วร่างกายจะผ่านหลอดเลือดดำมายังปอดแพร่สู่หลอดขับออกทางลมหายใจ
ความผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
หายใจติดขัด
คัดจมูก
ไอจามเล็กๆ น้อยๆ
อาการรุนแรงอย่างหายใจไม่ออก
มีคาร์บอนไดออกไซด์คั่งในเลือด