Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง ของชุมชน - Coggle Diagram
การเสริมสร้าง ความเข้มแข็ง ของชุมชน
คำสำคัญ(Keywords)
ชุมชน (Community)
ชุมชนเข้มแข็ง (StrongCommunity)
สุขภาพชุมชน (CommunityHealth)
การปฏิบัติการชุมชน (CommunityAction)
การเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน (CommunityStrengthening)
กระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งชุมชน (Community StrengtheningProcess)
การเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน (CommunityEmpowerment)
การมส่วนร่วมของชุมชน (CommunityParticipation
องคป์ระกอบของชมุชน
เป้าหมายและความตอ้งการของชุมชน
สิ่งแวดล้อมของชุมชน
คนหรือกลุ่มคน
ระบบบริการในชุมชน
ขอบเขตของชุมชน
หลักการเสริมสรา้งความเข้มแข็งของชมุชน
การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้สามารถ รวมกลุ่มร่วมกันคิด ร่วมกันทำร่วมกับรับผิดชอบ
การส่งเสริมกระบวนการพัฒนาในชุมชนใน ลักษณะ ร่วมคิด ร่วมทำและร่วมเรียนรู้
ส่งเสริมการรวมกล่มุองคก์รทำงานร่วมกัน
ส่งเสริมใหม่การเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการแกไ้ข ปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
องค์ระกอบของการเสริมสรา้งความเข้มแข็งของชุมชน
องคก์รหลักในพื้นที่
การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้อให้กับการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน
เครื่องมือและกระบวนการเสริมสร้างความ เข้มแข็งของชุมชน
รูปแบบกลยุทธ์การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การพัฒนาชุมชนที่เน้นชุมชนเป็นพลังขับเคลื่อน 2. การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน 3. การเสริมสรา้งสมรรถนะของชุมชนโดยการสรา้งเสริมพลัง ทุนทางสังคมของชุมชนสู่ความเข้มแข็งพึ่งตนเอง 4. การเสริมสรา้งความเข้มแข็งของชุมชนด้วยการเสริมสรา้ง พลังอำนาจชุมชน
การมีส่วนร่วมของชุมชนและการเป็นห้นุส่วนของชุมชน ความหมาย การใหโ้อกาสประชาชนเป็นผู้สินใจและกำหนดความต้องการของตนเอง อย่างแท้จริงเป็นการเสริมพลังใหแ้ก่ประชาชน กลุ่มองค์กรชุมชนให้สามารถ พัฒนาศักยภาพของตนเอง ในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร การควบคุมดูแล การกำหนดแนวทางการดา รงชีวิตด้วยตนเองของชุมชนและ การเข้าร่วมอย่างมอิสระในกิจกรรมของชมุชนที่มีวัตถุประสงค์และมเีป้าหมาย ชัดเจน (วีณา เที่ยงธรรมและคณะ,2554)
ระดับของการมีส่วนร่วมของชุมชน
ระดับ 4 การให้ความร่วมมือ (Collaborate)
ระดับ 3 การเข้าไปเกี่ยวข้อง (Involve
ระดับ 5
การสร้างเสริมพลังอำนาจประชาชน (Collaborate)
ระดับ2 การปรึกษาหารือ (Consult)
ระดับ 1 การรับรู้ขา่วสาร (Inform)
การเสริมสร้างสมรรถนะของชุมชนโดยการสร้างเสริม พลังทุนทางสังคมของชุมชนสู่ความเข้มแข็งพึ่งตนเอง
ทุนทางสังคม หมายถึง ความสัมพันธิ์ทางสังคมหรือโครงสร้างทางสังคมที่เราสามารถเรียกเอา ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ ตวัอของทุนทางสังคมที่ถูกกล่าวคือ ความ เชื่อถือไว้วางใจนัก(Trust) เครือข่าย (Network) สถาบัน(Institution) ซึ่งความสัมพันธ์ทางสังคมหรือโครงสร้างทางสังคมรูปแบบใดที่เป็นทางสังคมนั้นอาจ พิจารณาง่ายๆว่าท้ายที่สุดแล้วมันสามารถให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจกับเราได้หรือไม่นั่นเอง
ทุนทางสังคมเกิดจากการมีปฎิรูปสัมพันธ์ร่วมกัน กิจกรรมร่วมมือกัน ยิ่งมีมากเท่าไรก็อาจเป็นผลดี ในแง่ที่ว่าเกิดการเรียนรู้รับรู้ และข้อมลูข่าวสารระหว่างกันทำให้เกิดคุณค่าบางอย่างที่ สามารถโยงและยอมรับร่วมกัน ซึ่งคุณค่านั้นที่เป็นส่วนหนึ่งเราสามารถเรียกเอา ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากมันได้
หลักของการเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน
พัฒนาความคิดความเข้าใจของตนในดา้นบวกเพิ่มขึ้น 2. พัฒนาความเข้าใจเชิงวิเคราะหต่อ่สิ่งแวดล้อมทางสังคม และทางการเมือง 3. พัฒนาความเชี่ยวชาญและแหล่งทรัพยากรที่จะใช้ ปฏิบัติการในกิจกรรมทางสังคมและการเมือง
กระบวนการการเสริมสรา้งพลังอำนาจในชุมชนขนขั้นตอนที่1กา หนดเป้าหมายให้ชัดเจน ขนั้ตอนที่2กำหนดแผนปฏิบัติาร ขั้นตอนที่3แสวงหาหรือสรา้งสรรคผ์ูนำ กลุ่มที่เหมาะสมในชุมชน ขั้นตอนที่4เสาะแสวงหาบุคคลที่เป็นแกนนำ ขั้นตอนที่5จดบันทึกการปฏิบัตงาน ขั้นตอนที่6ขอความช่วยเหลือจากผเู้ชี่ยวชาญเฉพาะทาง ขั้นตอนที่7ขยายผลของความสำเร็จในในงาน
ประโยชนข์องการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
ความสามารถแห่งตน (SelfEfficacy)
ความพรอ้ม (Hardiness)
ความตระหนกัตอ่ตนเอง (SelfEsteem)
กระบวนการ สร้างเสริม ความเข้มแข็ง ชุมชน
กระบวนการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาทรัพยากรบคุคล
ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมคน ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเข้มแข็ง การสื่อสาร สภาพปัญหาและความ ตอ้งการของชมุชน
ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบตักิจกรรมตามโครงการและประเมินผล (ร่วมมือเป็น เครือขา่ย
Community Ownership
ในกระบวนการตัดสินใจ และยอมรับผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ
ในกระบวนการตัดสินใจและยอมรับผลที่ เกิดขึ้นจากกระบวนการนั้น
ในการมีสิทธิ์ออกเสียง และร่วมคดิร่วมทำ ในกระบวนการพัฒนา
บทบาทและสมรรถนะของพยาบาลในการเสริมสรา้ง ความเข้มแข็งของชุมชน
เห็นคุณค่าความเป็นคนและตนเองและเพื่อนมนุษย์
มีศักยภาพในการเป็นพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพ
มองทุกอย่างแบบบรูณาการ
ประสานงานได้รอบด้าน
ปัจจัยที่สนับสนุนและท้าทาย การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุชน ปัจจัยภายใน 1. ความเชื่อหรืออุดมการณร่วมของชุมชน
ทุนทางสังคม 3. อิทธิพลของผู้นำ และหรือผู้ปกครองชุมชน 4. ระบบข้อมูลข่าวสารในชุมชน
การสื่อสารในชุมชน
ความร่วมมือในชมุชน ความขัดแย้งและปฏิเสธ
การมีกืจกรรมร่วมกนัของชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ปัจจัยที่สนับสนุนและท้าทาย การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุชน ปัจจัยภายนอก
แหล่งสนับสนุนความเข้มแข็งของชุมชน 2. เครือขา่ยความร่วมมือและการแข่งขันระหว่างชุมชน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาต ิฉบับท่ ี12 พ.ศ.2560-2564
ความหมายของชุมชน (รุจินาถ อรรถสิษฐ,2549)
การปฏิสัมพันธ์ทางสังคม (Community as Social Interaction)
พื้นที่ทางภูมิศาสตร ์(Community as Geographic Area)
ความรับผิดชอบทางการเมืองและสังคม (Community as Political and SocialResponsibility)
ความหมายที่ 1 ประชาชนกลุ่มที่อาศัยอยู่รวมกันในพื้นที่ใด พื้นที่หนึ่ง มีปฏิสัมพันธซ์ึ่งกันและกันหรือกลุ่มคนที่มีความสนใจ
หรือมีเป้าหมายหรือมีลักษณะ บางประการ มีแบบแผนการดำเนินชีวิต มีวัฒนธรรมประเพณีการติดต่อสื่อสารและการ ตัดสินใจร่วมกัน เพื่อให้บรรลเุป้าหมายและความต้องการของชีวิต (ศิริพร ขมัภลิขิต,2559
ความหมายที่ 2 ประชาชนที่อยู่ใูนหมู่ตำบล อำเภอเดียวกันหรือกลุ่มคนทำงานที่อยู่ในโรงงาน นักเรียนที่อยู่ในโรงเรียน
บุคคลากรสุขภาพในหน่วยบริการเดียวกัน สมาชิกในสมาคม ชมรมมูลนืธืองคกร กลุ่มหน่วยงานหรือเครือข่ายอายุองค์กรใด องค์กรหนึ่ง (ศิริพร ขมัภลิขติ,2559)
“สุขภาพชุมชนคือ สภาวะ สุขภาพที่สมบูรณทั้งในมิติ ดา้นร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญาณของชุมชนทั้ง ชุมชนโดยรวม”
องค์ประกอบของสุขภาพชุมชน
สถานะทางสุขภาพของชุมชน(Health Status)
โครงสรา้งของชุมชน (Structure)
กระบวนการที่เกิดขนึ้ในชุมชน (Process)
กลุ่ม เป้าหมายของการดูแลสุขภาพชุมชน (ขนษิฐา นนัทบตุร,2553)
กลุ่มคนที่มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหา ระดับชุมชน
กลุ่มคนจำแนกตามอายุและพัฒนาการ
กลุ่มคนจำแนกตามปัญหาสขุภาพและภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ
กลุ่มผู้ป่วย
กลมุ่คนพิการ
กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
การสร้างเสริม ความเข้มแข็ง ของชุมชน
สร้างความเข้มแข็งให้แก่ปฏิบัติการชุมชน ตามกฎบัตรออตตาวา
“การส่งเสริมสุขภาพท าได้ โดยผ่านทาง“ปฏิบัติการชุมชน” ที่มั่นคง และมีประสิทธิผล ในการจัดลำดับความสำคัญ การตัดสินใจ การวางแผนกลยุทธ์ แล้วดำเนินการเพื่อให้เกิด สุขภาพที่ดีขึ้น หัวใจของขบวนการนี้คือ การเพิ่มอำนาจให้ชุมชน ให้มีความเป็น เจ้าของและควบคุมกิจกรรม และโชคชะตาของชุมชนเอง การพัฒนาชุมชนเป็นการดึงเอา ทรัพยากรบุคคล และวัตถุในชุมชนมาเสริมการพึ่งพาตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม และเพื่อพัฒนาระบบที่ยืดหยุ่นในการสร้างความเข้มแข็ง ในการให้สาธารณะมีส่วนร่วม และชี้นำในเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับสุขภาพ ทั้งนี้ต้องมีการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อย่างเต็มที่ และ ต่อเนื่อง เข้าถึงโอกาสที่จะเรียนรู้เรื่องสุขภาพ รวมทั้งการสนับสนุนในเรื่องทุน”