Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน - Coggle Diagram
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
หลักการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การส่งเสริมกระบวนการพัฒนาในชุมชนใน ลักษณะ ร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมเรียนรู้
ส่งเสริมการรวมกลุ่มองค์กรทำงานร่วมกัน
การพฒันาศักยภาพคนในชุมชนให้สามารถรวมกลุ่ม
ร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันรับผิดชอบ
ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมการแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบของการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้อให้กับการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุชน
เครื่องมือและกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุชน
องค์กรหลักในพื้นที่
รูปแบบกลยุทธ์การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุชน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชมุชนโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน
การเสริมสร้างสมรรถนะของชุมชนโดยการสร้างเสริมพลังทุนทางสังคมของชมุชนส่คูวามเข้มแข็งพึ่งตนเอง
การพัฒนาชุมชนที่เน้นชมุชนเป็นพลังขับเคลื่อน
การเสริมสรา้งความเข้มแข็งของชุมชนด้วยการเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน
การมีส่วนร่วมของชุมชนและการเป็นหุ้นส่วนของชุมชน
ความหมาย
การให้โอกาสประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจและกำหนดความต้องการของตนเองอย่างแท้จริงเป็นการเสริมพลังให้แก่ประชาชน กลุ่มองค์กรชมุชนให้สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเองในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร การควบคุมดูแล การกำหนดแนวทางการดำ รงชีวิตด้วยตนเองของชมุชนและการเข้าร่วมอย่างมีอิสระในกิจกรรมของชมุชนที่มีวัตถุประสงค์และมีเป้าหมายชัดเจน
ลักษณะที่ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ของการมีส่วนร่วมของชุมชน
การเข้าไปเกี่ยวข้อง(Involvement)
o ดำเนินงาน
o รับผลประโยชน์
o วางแผน
o ประเมินผล
o ริเริ่ม
o คิดพัฒนาให้ดีขึ้น
การเป็นหุ้นส่วน (partnership)
ทำงานร่วมกันภายใต้บรรยากาศของการทำงานที่มีความเท่าเทียวกัน
เคารพซึ่งกันและกัน
สนใจร่วมกันยินดี
ร่วมตัดสินใจ
บุคคล กลุ่มของบุคคล องค์กร หน่วยงาน
รับผิดชอบดำเนินการให้บรรลุเป้าหมายเพื่อชุมชนหรือสังคม
ระดับของการมีส่วนร่วมของชุมชน
ระดับที่ 3 การเข้าไปเกี่ยวข้อง (Involve)
ระดับที่ 2 การปรึกษาหารือ (Consult)
ระดับที่ 4 การให้ความร่วมมือ (Collaborate)
ระดับที่ 1 การรับรู้ข่าวสาร (Inform)
ระดับที่ 5 การสร้างเสริมพลังอำนาจประชาชน (Collaborate)
เสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน
หลักของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
พัฒนาความเข้าใจเชิงวิเคราะห์ต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคมและทางการเมือง
พัฒนาความเชี่ยวชาญและแหล่งทรัพยากรที่จะใช้ปฏิบัตการในกิจกรรมทางสังคมและการเมือง
พัฒนาความคิดความเข้าใจของตนในด้านบวกเพิ่มขึ้น
จุดมุ่งหมายของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
เพื่อที่จะให้ชุมชนและบุคคลมีความสามารถในการควบคมุปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลต่อตนเอง
เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับบุคคลและผู้ที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้นๆ สามารถแก้ไขหรือป้องกันปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นแล้วได้เป็นอย่างดี
กระบวนการการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
ขั้นตอนที่4 เสาะแสวงหาบคุคลที่เป็นแกนนำ
ขั้นตอนที่5 จดบันทึกการปฏิบัติงานและการรับรู้ผลงาน
ขั้นตอนที่3 แสวงหาหรือสร้างสรรค์ผู้นำกลุ่มที่เหมาะสมในชุมชน
ขั้นตอนที่6 ขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ขั้นตอนที่2 กำหนดแผนปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่7 ขยายผลของความสำเร็จในงาน
ขั้นตอนที่1 กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน
ประโยชน์ของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
ช่วยส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของบุคคล
ความพร้อม (Hardiness)
ความตระหนักต่อตนเอง (SelfEsteem)
ความสามารถแห่งตน (SelfEfficacy)
กระบวนการสร้างเสริมความเข้มแข็งชุมชน
ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงการและประเมินผล (ร่วมมือเป็นเครือข่าย)
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเข้มแข็ง การสื่อสาร สภาพปัญหาและความต้องการของชมุชน
ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมคน
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาทรัพยากรบุคคล
Community Ownership
กระบวนการตัดสินใจ และยอมรับผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนั้น
กระบวนการตัดสินใจและยอมรับผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนั้น
การมีสิทธิ์ออกเสียง และร่วมคิดร่วมทำในกระบวนการพัฒนา
บทบาทและสมรรถนะของพยาบาลในการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน
มีศักยภาพในการเป็นพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพ
มองทุกอย่างแบบบูรณาการ
เห็นคณุค่าความเป็นคนและตนเองและเพื่อนมนุษย์
ประสานงานได้รอบด้าน
ปัจจัยที่สนับสนุนและท้าทาย
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ปัจจัยภายใน
ระบบข้อมูลข่าวสารในชุมชน
การสื่อสารในชุมชน
อิทธิพลของผู้นำ และหรือผู้ปกครองชุมชน
ความร่วมมือในชมุชน ความขัดแย้งและปฏิเสธ
ทุนทางสังคม
การมีกิจกรรมร่วมกันของชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ความเชื่อหรืออุดมการณ์ร่วมของชุมชน
ปัจจัยภายนอก
แหล่งสนับสนุนความเข้มแข็งของชุมชน
เครือข่ายความร่วมมือและการแข่งขันระหว่างชุมชน