Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของน้ำคร่ำ
(น้ำคร่ำมากและน้ำคร่ำน้อย กลุ่ม 6
…
ความผิดปกติของน้ำคร่ำ
(น้ำคร่ำมากและน้ำคร่ำน้อย กลุ่ม 6
-
พยาธิสภาพ
พยาธิน้ำคร่ำมาก
เกิดจากความผิดปกติของระบบประสาทส่วนกลางหรือระบบทางเดินอาหาร ร้อยละ 60 ของทารกที่ไม่มีกะโหลกศีรษะ (anencephaly) และหลอดอาหารตีบ (esophageal atresia) จะมีภาวะน้ำคร่ำมากร่วมด้วยเนื่องจากทารกในครรภ์มีภาวะหลอดอาหารตีบ ไม่สามารถเกินน้ำคร่ำได้ ทำให้เกิดภาวะน้ำคร่ำมาก
ทารกในครรภ์ที่มีความผิดปกติของระบบสมองส่วนกลาง เช่น ทารกไม่มีกะโหลกศีรษะหรือทารกที่มีกระดูกสันหลังโหว่ (spinal bifida) จะมีการแลกเปลี่ยนของน้ำผ่านเยื่อหุ้มสมองที่ปราศจากการห่อหุ้ม และกลไกการขับปัสสาวะของทารกในครรภ์ที่ขาดการควบคุมจากสมอง ทำให้มีประมาณน้ำคร่ำมากกว่าปกติ
พยาธิน้ำคร่ำน้อย
ภาวะน้ำคร่ำน้อยอาจจะพบร่วมกับความผิดปกติของทารก ความผิดปกติของโครโมโซม ภาวะทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์และครรภ์เกินกำหนด
ขึ้นอยู่กับอายุครรภ์ที่เกิด ถ้าเกิดตั้งแต่อายุครรภ์น้อยน้อยจะสัมพันธ์กับความผิดปกติของทารกในครรภ์ได้บ่อยกว่า ถ้าเกิดตั้งแต่ไตรมาสแรกโดยเฉพาะก่อนอายุครรภ์ 10 สัปดาห์ โอกาสเกิดค่อนข้างน้อยและมักจะไม่ทราบสาเหตุเพราะน้ำคร่ำส่วนใหญ่มาจากรกจะซึมผ่าน amnion มาจากแม่และเป็นสารน้ำที่ระเหยออกมาจากทารก
ถ้ามีน้ำคร่ำน้อย ทำนายได้ว่าเกือบทั้งหมดจะแท้งออกมาในที่สุดแต่ในไตรมาสที่สอง การไหลเวียนของน้ำคร่ำมาจากปัสสาวะที่ออกมา และการกินน้ำคร่ำของทารกในครรภ์ดังนั้น ถ้ามีความผิดปกติเกี่ยวกับระบบทางเดินปัสสาวะจะทำให้ปริมาณน้ำคร่ำน้อยลง
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อหญิงตั้งครรภ์
-
-
-
การยืดขยายของกล้ามเนื้อมดลูกเกินขนาด การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด การแตกของถุงน้ำคร่ำก่อนเวลา การคลอดล่าช้า และตกเลือดหลังคลอด
-
ต่อทารกในครรภ์
-
-
ทารกมีความผิดปกติ เช่น เป็นโรคเกี่ยวกับความผิดปกติทางโครโมโซม หรือมีภาวะ erythroblastosis ในมารดาที่เป็นโรคเบาหวาน
การตรวจวินิจฉัย
-
- ในระยะตั้งครรภ์เป็นเบาหวาน
- มดลูกเพิ่มขนาดอย่างรวดเร็ว
- การขยายของหน้าท้องที่ผิดปกติ
- มีความไม่สุขสบายในช่องท้อง
-
- คลำส่วนของทารกในครรภ์ได้ไม่ชัดเจน
- ขนาดของมดลูกมากกว่าอายุครรภ์
-
การตรวจวัด amniotic fluid index (AFI) ค่าปกติของดัชนีน้ำคร่ำจะเท่ากับ 8.1-18.0 เซนติเมตร
ถ้าค่าดัชนีมากกว่า 18 เซนติเมตร ถือว่าน้ำคร่ำมากกว่าปกติ (ในบางแห่งใช้ค่า 25 เซนติเมตร)
- วัดดัชนีน้ำคร่ำ AFI แบ่งเป็น ก้ำกึ่งหรือน้อยกว่าปกติ คือ วัดได้ 5-8 เซนติเมตร น้ำคร่ำน้อย วัดได้น้อยกว่า 5 เซนติเมตร
น้ำคร่ำน้อย
- คลำส่วนของทารกในครรภ์ได้ง่าย
- ไม่สามารถทำ ballottement ของศีรษะทารกในครรภ์ได้
- ความสูงของมดลูกน้อยกว่าอายุครรภ์
- ขนาดของมดลูกไม่ค่อยโตขึ้น
- วัดแอ่งลึกที่สุดของน้ำคร่ำ SDP แบ่งเป็น รุนแรงน้อย คือ วัดได้ 1-2 เซนติเมตร รุนแรงมาก วัดได้น้อยกว่า1 เซนติเมตร
-
- การขยายของหน้าท้องไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลง
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-