Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความเข้มเเข็งของชุมชน - Coggle Diagram
การเสริมสร้างความเข้มเเข็งของชุมชน
ความหมาย
ชุมชน(Community)
คือ ประชาชนกลุ่มหนึ่งที่อาศัยรวมกัน มีปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน มีแบบแผนการดำเนินชีวิต มีวัฒนธรรมประเพณีการติดต่อสื่อสารและตัดสินใจร่วมกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ต้องการ
องค์ประกอบของชุมชน
1.คนหรือกลุ่มคน
2.เป้าหมายและความต้องการของชุมชน
3.สิ่งแวดล้อมของชุมชน
4.ระบบบริการในชุมชน
5.ขอบเขตของชุมชน
สภาพชุมชน (Community Health)
คือ สภาวะสุขภาพที่สมบูรณ์ ทั้งในมิติด้านร่างกาย จิตใจ สังคมและวิญาณของชุมชนทั้งชุมชนโดนรวม
องค์ประกอบของสุขภาพชุมชน
1.สถานะทางสุขภาพของชุมชน (Health Status)
2.โครงสร้างของชุมชน (Structure)
3.กระบวนการที่เกิดขึ้นในชุมชน (Process)
กลุ่มเป้าหมายของการดูแลสุขภาพชุมชน
1.กลุ่มคนที่มีศักยภาพในการเเก้ไขปัญหาระดับชุมชน
2.กลุ่มคนตามจำแนกอายุและพัฒนาการ
3.กลุ่มคนจำแนกปัญหาสุขภาพและภาวะเสี่ยงด้านสุขภ
4.กลุ่มผู้ป่วย
5.กลุ่มคนพิการ
6.กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
ชุมชนเข้มเเข็ง (Strong Community)
คือ ชุมชนที่มีขีดความสามารถในการจัดการเเก้ปัญหาของตนเองได้ระดับหนึ่ง
การสร้างความเข้มเเข็งของชุมชน
ตามกฎบัตรออตตาวา (Strength community action)
คือ การส่งเสริมสุขภาพทำได้โดยผ่าน
การปฏิบัติการชุมชน
ที่มั่นคงและมีประสิทธิผล โดยขบวนการนี้จะเพิ่มอำนาจให้ชุมชนให้มีความเป็นเจ้าของและควบคุมกิจกรรม และโชคชะตาของชุมชน
หลักการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
1.การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้สามารถรวมกลุ่มช่วยกันคิด ช่วยกันทำ และร่วมกันรับผิดชอบ
2.การส่งเสริงกระบวนการพัฒนาในชุมชน ในลักษณะร่วมคิด ร่วมทำและร่วมเรียนรู้
3.ส่งเสริมการรวมกลุ่มองค์กรทำงานร่วมกัน
4.ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม การแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบของการสร้างเสริมความเข้มเเข็งของชุมชน
1.องค์การหลักในพื้นที่
2.การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้อให้กับการเสริมสร้างความเข้มเเข็งของชุมชน
3.เครื่องมือและกระบวนการเสริมสร้างความเข้มเเข็งของชุมชน
กลยุทธ์การเสริมสร้างความเข้มเเข็งของชุมชน
การพัฒนาชุมชนที่เน้นชุมชนเป็นพลังขับเคลื่อน
การมีส่วนร่วมของชุมชนและการเป็นหุ้นส่วนของชุมชน
คือ การเปิดโอกาสให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจและกำหนดความต้องการของตนเอง เป็นการเสริมพลังให้แก่ประชาชน
ลักษณะที่ไม่สามารถแยกออกจากกันของการมีส่วนร่วมของชุมชน
การเข้าไปเกี่ยวข้อง
ริเริ่ม
วางแผน
ดำเนินงาน
รับผลประโยชน์
ประเมินผล
คิดพัฒนาให้ดีขึ้น
การเป็นหุ้นส่วน
บุคคล/กลุ่มบุคคล/หน่วยงาน
สนใจร่วมกันยินดี
ทำงานภายใต้บรรยากาศเท่าเทียมกัน
เคารพซึ่งกันและกัน
ร่วมกัดสินใจ
รับผิดชอบร่วมกัน
ระดับของการมีส่วรร่วมของชุมชน
ระดับที่ 5 การเสริมสร้างพลังอำนาจ
ระดับที่ 1 การรับรู้ข่าวสาร
ระดับที่ 2 การปรึกษาหารือ
ระดับที่ 3 การเข้าไปเกี่ยวข้อง
ระดับที่ 4 การให้ความร่วมมือ
การเสริมสร้างความเข้มเเข็งของชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน
หมายถึง
ภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่ชาวบ้านคิดทุกสิ่งทุกอย่างขึ้นมาเองและนำไปใช้เเก้ไขปัญหา โดยอาศัยองค์ความรู้เเละเทคนิคในการแก้ไขปัญหาและตัดสินใจ
การเสริงสร้างสมรรถนะของชุมชน โดยการเสริงสร้างพลังทุนทางสังคม
หมายถึง
ความสัมพันธ์ทางสังคนที่เกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ทำกิจกรรมร่วมกัน หรือเกิดจากการรับรู้ เรียนรู้ และส่งผ่านข้อมูลระหว่างกัน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งด้วยการเสริมสร้างพลังอำนาจของชุมชน
หลักการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
1.พัฒนาความคิดความเข้าใจของตนเองในด้านบวก
2.พัฒนาความเข้าใจเชิงวิเคราะห์ต่องสิ่งแวดล้อมทางสังคมและทางการเมือง
3.พัฒนาความเชี่ยวชาญและเเหล่งทรัพยากรที่ใช้ในกิจกรรมทางสังคม
กระบวนการเสริงสร้างพลังอำนาจในชุมชน
ขั้นตอนที่ 1 กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน
ขั้นตอนที่ 2 กำหนดแผนปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่ 3 แสวงหา/สร้างสรรค์ผู้นำกลุ่ม
ขั้นตอนที่ 4 แสวงหาบุคคลที่เป็นแกนนำ
ขั้นตอนที่ 5 จดบันทึกการปฏิบัติงานและรับรู้ผลงาน
ขั้นตอนที่ 6 ขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญ
ขั้นตอนที่ 7 ขยายผลสำเร็จ
กระบวนการสร้างเสริมความเข้มเเข็งชุมชน
ขั้นตอนที่ 1 การค้นกาทรัพยากรบุคคล
ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมคน
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเข้มเเข็ง การสื่อสาร สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงสร้างและประเมินผล (ทำเป็นเครือข่าย)
ลิ้งค์บทความวิจัยเรื่องความเข้มเข็งของชุมชนชาวส่วยบ้นหนองตาดำ อำเภอหนองกี่ จังหวัดบุรีรัมย์ --->
Link Title
:!!:
บทบาทและสมรรถนะของพยาบาลในการเสริงสร้างควมเข้มเเข็งของชุมชน
1.เห็นคุณค่าความเป็นคนและตนเองและเพื่อนมนุษย์
2.มีศักยภาพในการเป็นพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพ
3.มองทุกอย่างแบบบูรณาการ
4.ประสานงานได้รอบคอบ
ปัจจัยที่ท้าทาย
ปัจจัยภายนอก
1.เเหล่งสนับสนุนความเข้มแข้งของชุมชน
2.เครือข่ายความร่วมมือและการแข่งขันระหว่างชุมชน
ปัจจัยภายใน
1.ความเชื่อ/อุดมคติ
2.ทุนทางสังคม
3.อิทธิพลของผู้นำ
4.ระบบข้อมูลข่าวสารในชุมชน
5.การสื่อสารในชุมชน
6.ความร่วมมือ/ข้อขัดเเย้ง
7.การมีกิจกรรมร่วมกัน