Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน - Coggle Diagram
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
องค์ประกอบของชุมชน
คนหรือกล่มุคน
เป้าหมาย และความต้องการของชมุชน
สิ่งแวดล้อมของชุมชน
ระบบบริการในชุมชน
ขอบเขตของชมุชน
องค์ประกอบของสุขภาพชุมชน
สถานะทางสุขภาพของชุมชน(Health Status)
โครงสร้างของชุมชน (Structure)
กระบวนการที่เกิดขึ้นในชุมชน (Process)
กล่มุเป้าหมายของการดูแลสุขภาพชุมชน
1. กลุ่มคนที่มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาระดับชุมชน
(ผู้นำที่เป็นทางการ และผู้นำทางธรรมชาติ)
กลุ่มคนจำแนกตามอายุและพัฒนาการ
กลุ่มคนจำแนกตามปัญหาสุขภาพและภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ
กลุ่มผู้ป่วย
กลุ่มคนพิการ
กลุ่มผู้ด้อยโอกาส
หลักการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การพัฒนาศักยภาพคนในชุมชนให้สามารถ
รวมกล่มุร่วมกันคิด ร่วมกันทำ ร่วมกันรับผิดชอบ
การส่งเสริมกระบวนการพัฒนาในชุมชน
ในลักษณะ ร่วมคิด ร่วมทำ และร่วมเรียนรู้
ส่งเสริมการรวมกลุ่มองคก์รทำงานร่วมกัน
ส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม การแก้ไขปัญหาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง
องค์ประกอบ
ของการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
องค์กรหลักในพื้นที่
การพัฒนาโครงสร้างที่เอื้อให้กับการเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน
เครื่องมือและกระบวนการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
รูปแบบกลยุทธ์การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
การพัฒนาชุมชนที่เน้นชุมชนเป็นพลังขับเคลื่อน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน
การเสริมสร้างสมรรถนะของชุมชนโดยการสร้างเสริมพลังทุนทางสังคมของชุมชนสู่ความเข้มแข็งพึ่งตนเอง
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนด้วยการเสริมสร้าง พลังอำนาจชุมชน
ระดับของการ
มีส่วนร่วมของชุมชน
ระดับที่ 5
: การสร้างเสริมพลังอำนาจประชาชน (Collaborate)
ระดับที่ 4
: การให้ความร่วมมือ (Collaborate)
ระดับที่ 3
: การเข้าไปเกี่ยวข้อง (Involve)
ระดับที่ 2
: การปรึกษาหารือ (Consult)
ระดับที่ 1
: การรับรู้ข่าวสาร (Inform)
หลักของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
พัฒนาความคิดความเข้าใจของตนในด้านบวกเพิ่มขึ้น
พัฒนาความเข้าใจเชิงวิเคราะห์ต่อ
สิ่งแวดล้อมทางสังคมและทางการเมือง
พัฒนาความเชี่ยวชาญและแหล่งทรัพยากร
ที่จะใช้ปฏิบัติการในกิจกรรมทางสังคมและการเมือง
กระบวนการ การเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
ขั้นตอนที่ 4 : เสาะแสวงหาบุคคลที่เป็นแกนนำ
ขั้นตอนที่ 5 : จดบันทึกการปฏิบัติงานและการรับรู้ผลงาน
ขั้นตอนที่ 3 : แสวงหาหรือสร้างสรรค์ผู้นำกลุ่มที่เหมาะสมในชุมชน
ขั้นตอนที่ 6 : ขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ขั้นตอนที่ 2 : กำหนดแผนปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่ 7 : ขยายผลของความสำเร็จในงาน
ขั้นตอนที่ 1 : กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน
จุดมุ่งหมายของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
เพื่อที่จะให้ชุมชนและบุคคลมีความสามารถในการควบคุมปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อตนเอง
เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับบุคคลและผู้ที่เกี่ยวข้อง กับปัญหานั้นๆ สามารถแก้ไขหรือป้องกันปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น หรือเกิดขึ้นแล้วได้เป็นอย่างดี
ประโยชน์ของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชมุชน
ช่วยส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของบุคคล
ความสามารถแห่งตน (Self Efficacy)
ความพร้อม (Hardiness)
ความตระหนักต่อตนเอง (Self Esteem)
กระบวนการสร้างเสริมความเข้มแข็งของชุมชน
ขั้นตอนที่ 3
: การประเมินความเข้มแข็ง
การสื่อสาร สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
ขั้นตอนที่ 4
: การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนที่ 2
: การเตรียมคน
ขั้นตอนที่ 5
: การปฏิบัติกิิจกรรมตามโครงการ
และประเมินผล (ร่วมมือเป็นเครือข่าย)
ขั้นตอนที่ 1
: การค้นหาทรัพยากรบุคคล
บทบาท และสมรรถนะของพยาบาล
ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
เห็นคุณค่าความเป็นคนและตนเองและเพื่อนมนุษย์
มีศักยภาพในการเป็นพี่เลี้ยงที่ีคุณภาพ
มองทุกอย่างแบบบูรณาการ
ประสานงานได้รอบด้าน
**ปัจจัยที่สนับสนุนและท้าทาย
การเสริมสร้างความเข็มแข็งของชุมชน
ปัจจัยภายนอก
แหล่งสนับสนุนความเข้มแข็งของชุมชน
เครือข่ายความร่วมมือ และการแข่งขันระหว่างชุมชน
ปัจจัยภายใน
ความเชื่อหรืออุดมการณ์ร่วมของชุมชน
ทุนทางสังคม
อิทธิพลของผู้นำ และหรือผู้ปกครองชมุชน
ระบบข้อมูลข่าวสารในชุมชน
การสื่อสารในชุมชน
ความร่วมมือในชมุชน ความขัดแย้งและปฏิเสธ
การมีกิจกรรมร่วมกันของชุมชนอย่างต่อเนื่อง