Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์, นพ.…
กฏหมายที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ข้อจำกัดของใบประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม
1.ผู้ที่กระทรวง กรม อบต. อบจ. สภากาชาดมอบหมายให้ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
2.บุคคลจะทำได้เมื่อ ตามเกณฑ์ตามเงื่อนไข อยู่ในสภาพพยาบาล
3.บุคคลที่สามารถทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้คือ
-ผู้ช่วยพยาบาลผดุงครรภ์ ผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช
-พนักงานสุขภาพชุมชน
-พยาบาลผดุงครรภ์ชั้น1และ2
-อสม.
-พนักงานอนามัย
-เจ้าพนักงานสาธารสุข
-ผู้สำเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์
4.ผดุงครรภ์ชั้น1สามารถใส่และถอดห่วงอนามัย
5.การพยาบาลชั้น1ชั้น2 ผู้ช่วยพยาบาล
6.ผดุงครรภ์ชั้น1 ชั้น2 ผ่านการอบรมสามารถใส่ห่วง
7.ผ่านการอบรม ผ่าทำหมันก็สามารถทำได้
8.ผ่านการอบรมวางยาสลบก็สามารถทำได้
9.ผ่านหลักสูตรที่เกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์การแพทย์
10.อบรมผดุงครรภ์ทำการรับฝากครรภ์ได้
11.อสม.ที่ผ่านการอบรมสามารถทำได้
12.ให้อาสาสมัครของสมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทยหรืออาสาสมัครของสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน
13.การใช้ยาตามบัญชียา ให้บุคคลที่ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
สิ่งที่ปฏิบัติได้
ด้านอายุรกรรม
คือให้การรักษาพยาบาลเบื้องต้น เพื่อบรรเทา
อาการของโรค
การรักษาพยาบาลอื่น
คือ การให้น้ำเกลือ การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู การสวนปัสสาวะ การสวนล้างกระเพาะ
ด้านศัลยกรรม
คือ ผ่าฝี เย็บบาดแผลที่ไม่สาหัส ชะล้าง ทำแผล ตกแต่งบาดแผล ผ่าเอาสิ่งแปลกปลอม
ด้านสูตินรีเวชกรรม
คือ ทำคลอดในรายปกติ ทำการช่วยเหลือขั้นต้นในรายที่มีการคลอดผิดปกติ ทำการช่วยเหลือในกรณีที่จะมี การทำแท้ง หรือหลังแท้งแล้ว การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การวางแผนครอบครัว การเจาะโลหิตจากปลายนิ้วหรือหลอดเลือดดำ
กฏหมายแพ่ง
กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพ เป็นกฎหมายเอกชนที่กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกคน
ความสัมพันธ์
นิติกรรม
คือ การกระทำของบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมายและสมัครใจมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์เพื่อก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ
องค์ประกอบของนิติกรรม
1.มีการกระทำ จะเป็นการกระทำใด ๆได้ทั้งสิ้น
2.การกระทำนั้นโดยชอบด้วยกฎหมาย หรือไม่ขัดต่อกฎหมาย
แบ่งเป็น 2 ประเภท
นิติกรรมฝ่ายเดียว คือ นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคลากรฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียว
2.นิติกรรมสองฝ่าย คือ นิติกรรมที่เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป
สัญญา
คือ การตกลงด้วยความสมัครใจระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป โดยเจตนาจะต้องถูกต้องตรงกัน คือ ฝ่ายหนึ่งจะต้องแสดงเจตนาขึ้นมาก่อน
ละเมิด
คือ การกระทำหรืองดเว้นการกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิต อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สิน หรือสิทธิของผู้อื่น
องค์ประกอบของการกระทำละเมิด
กระทำโดยบุคคลอื่นโดยผิดต่อกฎหมาย หมายถึง การประทุษกรรมต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย ด้วยการฝ่าฝืนต่อกฎหมายที่ห้ามไว้
กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ กระทำโดยจงใจคือกระทำโดยรู้สำนึกและในขณะเดียวกันก็รู้ว่าจะทำให้เกิดความเสียหาย
3.ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย คือ การกระทำนั้นก่อให้เกิดความเสียหายขึ้น
การชดใช้ค่าเสียหาย
กรณีสินทรัพย์เสียหาย
ป.พ.พ มาตรา 438 วรรคสอง
การคืนสินทรัพย์ที่ผู้เสียหายสูญเสียไปเพราะการละเมิดหรือใช้ราคาทรัพย์สินรวมค่าเสียหาย
กรณีผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
ป.พ.พ. มาตรา 443
1.ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็นเกี่ยวกับการ
ปลงศพ
2.ค่าขาดไร้อุปการะเลี้ยงดู
3.ค่าขาดแรงงาน ถ้าผู้ตายมีความผูกพันตามกฎหมาย
จะต้องทำงานเป็นคุณให้แก่ ครอบครัว
4.ค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้
ก่อนตาย
กรณีผู้เสียชีวิตไม่ถึงแก่ความตาย
ค่าสินไหมทดแทนจะต้องชดใช้ผู้เสียหาย
ค่ารักษาพยาบาลอันจำเป็นแก่อาการ
2.ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
3.ค่าสูญเสียความสามารถในการประกอบอาชีพทั้งใน
เวลาปัจจุบันและอนาคต
ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน ค่าเสียหายชนิดนี้มักเรียก
ว่า “ค่าทำขวัญ”
ผู้ร่วมรับผิดในการกระทำละเมิด
โดยปกติ ผู้กระทำย่อมต้องรับผิดชอบเฉพาะการกระทำของตนแต่ในเรื่องละเมิด บางกรณี ผู้ที่มิได้มีส่วนร่วม หรือรู้เห็นในการกระทำละเมิดเลย แต่อาจต้องรับผิดในการกระทำละเมิด
นายจ้างกับลูกจ้าง
ครูอาจารย์กับผู้ที่อยู่ในความดูแลของตน
ตัวการร่วมรับผิดชอบกับตัวแทน
สภาพบังคับของกฎหมาย
1.โมฆะกรรม
2.โมฆียกรรม
3.การบังคับชำระหนี้
4.การชดใช้ค่าเสียหาย
กฎหมายอาญา
คือ กฎหมายมหาชนประเภทหนึ่งที่กำหนดความเกี่ยวพันระหว่างรัฐกับราษฎรมีสาระสำคัญเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นความผิดและการลงโทษผู้ฝ่าฝืนไว้
แบ่งเป็น 2 ประเภท
ประมวลกฎหมายอาญา ได้แก่ กฎหมายที่รวบรวมการกระทำผิดสำคัญๆ และบังคับใช้
2.กฎหมายอาญาประเภทอื่น ๆ ได้แก่ กฎหมายที่เกี่ยวกับการกระทำความผิดเฉพาะเรื่องนอกจากที่ได้กล่าวไว้
ความผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน ได้แก่ ความผิดที่สำคัญ
และร้ายแรง
ความผิดส่วนตัว ได้แก่ ความผิดที่ไม่ร้ายแรงและมีผลกระทบกระเทือนต่อผู้ที่ได้รับความเสียหายแต่ฝ่ายเดียว
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
ต้องมีการกระทำ
การกระทำนั้นกฎหมายบัญญัติว่าเป็นการกระทำผิดและ
กำหนดโทษไว้
ต้องกระทำโดยเจตนา หากเป็นการกระทำโดยประมาทหรือ
ไม่เจตนา
ไม่มีกฎหมายยกเว้นความรับผิดหรือกฎหมายยกเว้นโทษ
การกระทำ
หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกายภายใต้การบังคับของจิตใจและควบคุมได้ การเคลื่อนไหวร่างกายที่ไม่อยู่ในบังคับของจิตใจหรือไม่อาจควบคุมได้
การกระทำโดยเจตนา
การกระทำโดยประมาท
การกระทำโดยไม่เจตนา
หมายถึง การกระทำที่ไม่ทั้งประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล
ที่เกิดขึ้นจากการกระทำ
การกระทำโดยงดเว้น
หน้าที่จักต้องกระทำอาจเกิดขึ้นได้ 2 กรณี
1.โดยกฎหมายบัญญัติ เช่น บิดา มารดา มีหน้าที่อุปการะเลี้ยงดูบุตร ผู้เยาว์ หรือทุพพลภาพที่หาเลี้ยงตัวเองไม่ได้บัตรต้องอุปการะเลี้ยงดูบิดามารดา
โดยการกระทำของผู้กระทำผิดเอง เช่น รับจ้างเป็นพยาบาลมีหน้าที่ดูแลให้การรักษาพยาบาลผู้ป่วย แต่งดเว้นไม่ปฏิบัติหน้าที่ของตน
หลักเกณฑ์ “ป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย”
ต้องเป็นภยันตรายซึ่งเกิดจากการประทุษร้ายอันละเมิดต่อกฎหมาย
ภยันตรายนั้นเป็นภยันตรายที่ใกล้จะถึง
ต้องเป็นการกระทำการใดเพื่อป้องกันสิทธิของตนหรือของผู้อื่นให้พ้นจากภยันตรายนั้น
ความยินยอม
ความยินยอม หมายความว่า การอนุญาตให้
กระทำได้
องค์ประกอบของความยินยอม
1. ต้องยินยอมโดยบริสุทธิ์ใจ
ความยินยอมต้องมีอยู่ในขณะกระทำผิด
ไม่ขัดต่อความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดี
ของประชาชน
เหตุยกเว้นโทษ
บุคคลที่กระทำผิดตามธรรมดาก็ย่อมต้องรับโทษตามกฎหมาย
กระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
ผู้ใดกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน แม้คำสั่งนั้นจะมิชอบด้วยกฎหมาย
หลักการของ การกระทำเพราะไม่สามารถรู้ผิดชอบ
ต้องกระทำผิดในขณะที่ไม่สามารถรู้
รับผิดชอบหรือไม่ สามารถบังคับตนเองได้
2.เพราะจิตบกพร่อง โรคจิต หรือจิตฟั่นเฟือน
สภาพบังคับของกฎหมาย
การลงโทษเป็นสิ่งที่แสดงออกถึงความรู้สึก
ของชุมชนในการโต้ตอบผู้ที่กระทำละเมิด
โทษสำหรับผู้กระทำ
ประหารชีวิต
จำคุก
กักขัง
ปรับ
ริบทรัพย์สิน
นพ. ศิวฤทธิ์ รัศมีจันทร.(2562).จริยธรรมวิชาชีพและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาล.สืบค้นเมื่อ 5 พฤษภาคม 2563.เข้าถึงได้จาก
:
http://www.bcnb.ac.th/bcnb/uploads/documents/wg4/20190306_153315_118_3761.pdf
นางสาวณัฐพร พวงอ่อน รุ่น 36/1
เลขที่39 รหัสนักศึกษา 612001040