Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เนื้องอกในสมอง (Brain Tumor), นางสางศศิธร ตะโคตร ชั้นปีที่ 2 เลขที่ 52…
เนื้องอกในสมอง (Brain Tumor)
ความหมาย
เนื้อที่เกิดจากการเจริญเติบโตอย่างผิดปกติของเซลล์ในสมองหรือบริเวณเนื้อเยื่อและต่อมต่าง ๆ บริเวณใกล้เคียงกับสมอง ซึ่งอาจรบกวนระบบประสาทและการทำงานของสมอง จนทำให้มีอาการต่าง ๆ ตามมา หรือลุกลามเป็นมะเร็งในระยะอันตรายได้
การรักษา
การผ่าตัด
การฉายแสง (Radiation Therapy)
เคมีบำบัด (Chemotherapy)
รังสีศัลยกรรม (Radiosurgery)
อาการและอาการแสดง
Frontal lobe
มีการเปลี่ยนแปลงทางจิตใจ บุคลิกภาพ พฤติกรรม
มีปัญหาด้านความจำ
สับสน มึนงง
พูดติดขัด
GCS E4V4M6
posterior frontal lobe
ทรงตัวลำบาก
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกายและทดสอบทางประสาทวิทยา
ตรวจการมองเห็น
การได้ยิน
การทรงตัว
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ
ปฏิกิริยาตอบสนองทางร่างกาย
การตรวจพิเศษ
MRI
Biopsy
PET scan
CT scan
ซักประวัติ
มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการตัดสินใจ
ปวดศีษะ
ชา วูบวาบตามตัว แขน ขา
สาเหตุ
เนื้องอกในสมองที่เป็นเนื้อธรรมดา
ความผิดปกติของสาวพันธุกรรมในเซลล์สมองหรือการกลายพันธุ์ของเซลล์
โดยเซลล์มีการแบ่งตัวละเจริญเติบโตในอัตราที่ผิดปกติ ส่งผลให้เนื้อเยื่อที่เกิดจากเซลล์ผิดปกติเหลานี้จึงก่อตัวเป็นเนื้องอกบริเวณสมองและเกิดความเสียหายแก่สมองและระบบประสาทที่ใกล้เคียง
เนื้องอกในสมองที่เป็นเนื้อร้าย
เกิดจาดเซลล์มะเร็งก่อตัวขึ้นที่สมอง ซึ่งมีปัจจัยเสี่ยงจาก
รังสีอันตราย
ประวัติบุคคลในครอบครัวที่เคยมีเนื้องอกในสมอง
อายุ : สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกช่วงวัย แต่พบในผู้ใหญ่ > เด็ก
มีเซลล์มะเร็งที่อวัยวะอื่นแล้วแพร่เข้าสู่สมองทางกระแสเลือด
อาจเกิดจากการเป็นมะเร็งเต้านม มะเร็งลำไส้ใหญ่ มะเร็งไต มะเร็งปอด หรือมะเร็งผิวหนังชนิดเมลาโนมา
พยาธิสภาพ
general
เมื่อ Intracranial pressure เพิ่มขึ้นทำให้มีการเคลื่อนที่ของเนื้อสมองไปยังส่วนที่มีความดับต่ำกว่า (Brain herniation) ทำให้สมองเลื่อนไปอุดตันทางเดินน้ำไขสันหลัง ทำให้เกิด Hydrocephalus จะยิ่งทำให้ Intracranial pressure เพิ่มมากขึ้น
จะส่งผลให้เกิดการปรับตัว cushing reflex
local
เนื้องอกจะไปกดเบียดทำลายเนื้อสมองที่อยู่ติดกัน ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก เกิด Vessel permeability เปลี่ยนแปลงไป เกิด vasogenic cerebral edema ทำให้ความดันในกระโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะตกเลือด มีเลือดออกบริเวณเนื้องอกในสมอง
เกิดการอุดกั้นของน้ำไขสันหลัง จนอาจเกิดภาวะโพรงสมองคั่งน้ำ (Hydrocephalus)
สมองเคลื่อนไปยังช่องว่างฐานกะโหลก เนื่องจากความดันในสมองเพิ่มขึ้นสูงเฉียบพลัน
อาการชัก เมื่อเนื้องอกขยายตัวหรือมีอาการบวม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เลือดไปเลี้ยงสมองไม่เพียงพอ เนื่องจากเนื้อสมองไปกดหลอดเลือดในสมอง
การกำซาบของเนื้อเยื่อสมองลดลงเนื่องจากความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการมีก้อนเนื้องอก
ปวดศีรษะ เนื่องจากความดันในกะโหลกศีรษะสูงจากการมีก้อนเนื้องอก
ความเข้าใจเปลี่ยนแปลง เนื่องจากก้อนเนื้องอกไปกดทับเส้นประสาทรับความรู้สึกต่าง ๆ
ญาติวิตกกังวลเกี่ยวกับสภาพความเจ็บป่วย การดำเนินของโรค และแผนการรักษาของพทย์
การพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
จัดท่านอนศีรษะสูง พลิกตะแคงทุก 2 ชั่วโมง
Suction clear airway
กระตุ้นให้ผู้ป่วยไออย่างมีประสิทธิภาพ
คลายความวิตกกังวล
ลดอาการปวดศีรษะ อาการอาเจียน
ภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด
ความดันในกะโหลกศีรษะเพิ่มขึ้น
การมีเลือดออก
การมีน้ำคั่งในสมอง
หลังผ่าตัดให้นอนศีรษะสูง 30 องศา
ภาวะแทรกซ้อนจากรังสีรักษา
ผิวหนังบริเวณที่ได้รับรังสีอาจเกิดไหม้เกรียม ถลอกเป็นแผล มีอาการอ่อนเพลีย มีไข้ ซีด ท้องเสีย
ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการฟื้นฟูสภาพร่างกายโดยทั่วไป
นางสางศศิธร ตะโคตร
ชั้นปีที่ 2 เลขที่ 52 รหัสนักศึกษา 610701054