Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหา…
การช่วยเหลือพยาบาลวิชาชีพในการดูแล
บุคคลวัยผู้ใหญ่และผู้สูงอายุที่มีปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ผู้หญิงมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ชาย
กลั้นปัสสาวะไม่อยู่ (urinary incontinence)
ไม่สามารถควบคุมการทำงาน
ของกล้ามเนื้อหูรูดชั้นนอกที่ท่อปัสสาวะได้
5 ประเภท
Total incontinence ปัสสาวะจะไหลออกตลอดเวลา ไม่สามารถควบคุมได้
Functional incontinence ความรู้สึกปวดปัสสาวะเป็นแบบทันทีทันใด
Stress incontinence ปัสสาวะเล็ดออกมาโดยควบคุมไม่ได้
Urge incontinence
ไม่สามารถกลั้นปัสสาวะได้นานพอ
Reflex incontinence
ไม่มีความรู้สึกปวดปัสสาวะ
ปัสสาวะลำบาก (dysuria)
สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อของกระเพาะปัสสาวะ
ปัสสาวะตอนกลางคืน
ปัสสาวะรด
ปัสสาวะมีเลือดปน
ปัสสาวะมีหนองปน
ปัสสาวะบ่อย
การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ
ระวังไม่ให้สายบิด หัก พับ งอ
น้ำอย่างน้อยวันละ 3 ลิตร
บันทึกปริมาณน้ำดื่มและปัสสาวะให้ถูกต้อง
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอกด้วยน้ำและสบู่อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
เทปัสสาวะออกจากถุงรองรับปัสสาวะอย่างน้อยทุก 8 ชั่วโมง
ถุงรองรับปัสสาวะอยู่ต่ำกว่าระดับกระเพาะปัสสาวะไม่วางถุงรองรับปัสสาวะบนพื้น
ติดพลาสเตอร์ในต่ำแหน่งที่ถูกต้อง
สังเกตลักษณะ จำนวน และ สีปัสสาวะ
ชุดสายระบายปัสสาวะ เปลี่ยนทุก 30 วัน
สังเกตการรั่วซึมของปัสสาวะ
ท้องผูก ช่วยเหลือให้ขับถ่ายอุจจาระ
สังเกตและเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน
การดูแลช่วยเหลือเมื่อปฏิบัติการถอดสายสวนปัสสาวะ
ตรวจสอบคำสั่งการรักษาให้
ถูกต้อง
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบก่อน
เตรียมอุปกรณ์
ถุงมือสะอาด
2.กระบอกสูบขนาด 10 มิลลิลิตร
3.ถุงขยะ
4.กระดาษชำระ
ขั้นตอนการถอดสายสวนปัสสาวะ
ล้างให้มือให้สะอาดเช็ดให้แห้ง
แจ้งให้ผู้ป่วยทราบ ปิดพัดลม กั้นม่าน
สวมถุงมือสะอาด ล็อกป้องกันปัสสาวะไหลออก
ปลดพลาสเตอร์ ดูดน้ำกลั่นออก
ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
หลังการถอดสายสวนปัสสาวะ
ล้างมือให้สะอาด เช็ดให้แห้ง
ทำการบันทึก
สังเกตภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น ท่อปัสสาวะบอบช้ า บวม และปัสสาวะไม่ออก
ช่วยเหลือให้ผู้ป่วยปัสสาวะได้เองภายใน 8 ชั่วโมง
ให้ดื่มน้ำอย่างเพียงพอ
บริหารกล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกรานโดยการขมิบก้น
การส่งเสริมการทำหน้าที่ของระบบทางเดินปัสสาวะ
ส่งเสริมสุขอนามัย
ทำความสะอาดบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ส่งเสริมให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ อย่างน้อยวันละ 2 ลิตร
ส่งเสริมความแข็งแรงตึงตัวของกล้ามเนื้อบริเวณอุ้งเชิงกรานและกล้ามเนื้อหน้าท้อง
โดยการออกกาลังกาย การขมิบก้น Kegel exercise
ส่งเสริมการขับถ่ายปัสสาวะ ไม่กลั้นปัสสาวะ
การจัดหาอุปกรณ์ที่เหมาะสมสาหรับผู้ที่ไม่สามารถลุกเข้าห้องน้ำได้เอง
การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาในการขับถ่ายปัสสาวะ
การฝึกการขับถ่ายปัสสาวะ
การนวดกระเพาะปัสสาวะ
การสวนปัสสาวะ
เตรียมอุปกรณ์สวนปัสสาวะ
สายสวนปัสสาวะ(Urinary catheter)
สายสวนปัสสาวะโฟเล่ย์(Foley’s
catheter)
ชุดสวนปัสสาวะ
้ น้ำยาทำความสะอาดหรือน้ำยาทำลายเชื้อ
(antiseptic solution)
น้ำกลั่นปราศจากเชื้อ
สารหล่อลื่นชนิดที่ละลายน้
ถุงรองรับปัสสาวะ (urine bag)
กระบอกฉีดยาปราศจากเชื้อ
พลาสเตอร์
ถุงพลาสติกใส่ขยะ
ถุงมือปราศจากเชื้อ 1 คู่
ลักษณะปกติของปัสสาวะ
ปริมาณ (volume)
ขับออกใน 1 ชั่วโมงน้อยกว่า 30 มิลลิลิตร
สี (color)
น้อยปัสสาวะจะมีสีเหลืองเข้ม
ความใส (clarity)
ปกติปัสสาวะจะใส ไม่มีตะกอนขุ่น
กลิ่น (odor)
กลิ่นอ่อน ตั้งไว้นาน ๆกลิ่นแอมโมเนีย
ปัจจัยที่มีผลต่อการขับถ่ายปัสสาวะ
การเติบโตและพัฒนาการ
ปัจจัยด้านอารมณ์ จิตใจ
นิสัยส่วนบุคคล
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่ช่วยในการขับถ่ายปัสสาวะ
ปริมาณสารน้ำที่รับเข้าสู่ร่างกาย
ปริมาณน้ำที่สูญเสียออกจากร่างกาย
พยาธิสภาพของโรค
การมีไข้
การบาดเจ็บของไขสันหลัง
การอุดกั้นการไหลของปัสสาวะ
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
การตั้งครรภ์
การผ่าตัด
ยา
ยาขับปัสสาวะ ยากลุ่มใน cholinergic
ยากลุ่ม anticholinergic ยาบางชนิดทำให้สีปัสสาวะเปลี่ยน
การตรวจวินิจฉัย
ฮอร์โมน
Estrogen Antidiuretic hormone (ADH)
Cortisol Aldosterone
ความผิดปกติเกี่ยวกับการขับถ่ายปัสสาวะ
ถ่ายปัสสาวะไม่ออก (urinary retention)
มีปัสสาวะค้าง
รู้สึกแน่นอึดอัด ไม่สุขสบาย
กระสับกระส่าย และเหงื่อแตก
กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะ อ่อนแรง หรือมีการอุดกั้น
ระบบประสาท
ความผิดปกติของจิตใจ
ผลจากการใช้ยาบางชนิด