Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเสริมสร้างความแข็งแรงของชุมชน - Coggle Diagram
การเสริมสร้างความแข็งแรงของชุมชน
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน โดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นฐาน
ภูมิปัญญาไทย (Thai wisdom)
หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ทักษะและเทคนิคการตัดสินใจผลิตผลงานของบุคคล อันเกิดจากการสะสมองค์-ความรู้ทุกด้านที่ผ่านกระบวนการสืบทอดพัฒนาปรับปรุง และเลือกสรรมาแล้วเป็นอย่างดีสามารถแก้ไขปัญหา และพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัย
ภูมิปัญญาท้องถิ่น (local wisdom)
หมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดขึึ้นได้เองและนำมาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นเทคนิควิธีเป็นองค์ความรู้ของชาวบ้าน ทั้งทางกว้างและทางลึกที่ชาวบ้านคิดเองทำเอง โดยอาศัยศักยภาพที่มีอยู่แก้ปัญหาการดำเนินชีวิตในท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัยความเหมือนกันของภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ เป็นองค์ความรู้ และเทคนิคที่นำมาใช้ในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจซึ่งได้สืบทอดและเชื่อมโยงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
ภูมิปัญญา (Wisdom )
หมายถึง ความรู้ ความสามารถ ทักษะความเชื่อ และศักยภาพในการแก้ปัญหาของมนุษย์ที่สืบทอดกันมาจากอดีตถึงปัจจุบันอย่างไม่ขาดสายและเชื่อมโยงกันทั้งระบบทุกสาขา
การเสริมสร้างสมรรถนะของชุมชนโดยการสร้างเสริมพลังทุนทางสังคมของชุมชนสู่ความเข้มแข็งพึ่งตนเอง
ทุนทางสังคม
หมายถึง
ความสัมพันธ์ทางสังคมหรือโครงสร้างทางสังคมที่เราสามารถเรียกเอาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากมันได้
ตัวอย่าง ของทุนทางสังคมที่มักถูกกล่าวถึงคือ ความเชื่อถือไว้วางใจกัน (Trust) เครือข่าย (Network) สถาบัน (Institution) ซึ่งความสัมพันธ์ทางสังคมหรือโครงสร้างทางสังคมรูปแบบใดที่เป็นทุนทางสังคมนั ้น เราอาจพิจารณาง่ายๆว่า ท้ายที่สุดแล้วมันสามารถให้ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจกับเราได้หรือไม่นั่นเอง
เกิดจาก
การมีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน กิจกรรมร่วมมือกัน ยิ่งมีมากเท่าไรก็อาจเป็นผลดีในแง่ที่ว่า เกิดการเรียนรู้ รับรู้ และส่งผ่านข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน ทำให้เกิดคุณค่าบางอย่างที่สามารถยึดโยงและยอมรับร่วมกัน ซึ่งคุณค่าอันนั้นนั่นเองที่ส่วนหนึ่งเราสามารถเรียกเอาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจจากมันได้
การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ด้วยการเสริมสร้างพลังอำนาจชุมชน
หลักของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
2.พัฒนาความเข้าใจเชิงวิเคราะห์ต่อสิ่งแวดล้อมทางสังคมและทางการเมือง
3.พัฒนาความเชี่ยวชาญและแหล่งทรัพยากรที่จะใช้ปฏิบัติการในกิจกรรมทางสังคมและการเมือง
1.พัฒนาความคิดความเข้าใจของตนในด้านบวกเพิ่มขึ้น
จุดมุ่งหมายของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
1.เพื่อที่จะให้ชุมชนและบุคคลมีความสามารถในการควบคุมปัจจัยต่างๆ ที่มีผลต่อตนเอง
2.เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กับบุคคลและผู้ที่เกี่ยวข้องกับปัญหานั้นๆ สามารถแก้ไขหรือป้องกันปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นแล้วได้เป็นอย่างดี
กระบวนการการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
ขั้นตอนที่3 แสวงหาหรือสร้างสรรค์ผู้นำกลุ่มที่เหมาะสมในชุมชน
ขั้นตอนที่4 เสาะแสวงหาบุคคลที่เป็นแกนนำ
ขั้นตอนที่2 กำหนดแผนปฏิบัติการ
ขั้นตอนที่5 จดบันทึกการปฏิบัติงานและการรับรู้ผลงาน
ขั้นตอนที่1 กำหนดเป้าหมายให้ชัดเจน
ขั้นตอนที่6 ขอความช่วยเหลือจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทาง
ขั้นตอนที่7 ขยายผลของความสำเร็จในในงาน
ประโยชน์ของการเสริมสร้างพลังอำนาจในชุมชน
ช่วยส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของบุคคล
ความพร้อม (Hardiness)
ความตระหนักต่อตนเอง (Self Esteem)
ความสามารถแห่งตน (Self Efficacy)
กระบวนการสร้างเสริมความเข้มแข็งชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมคน
ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเข้มแข็ง การสื่อสาร สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน
ขั้นตอนที่ 1 การค้นหาทรัพยากรบุคคล
ขั้นตอนที่ 4 การพัฒนาทางเลือกในการแก้ไขปัญหา
ขั้นตอนที่ 5 การปฏิบัติกิจกรรมตามโครงการและประเมินผล (ร่วมมือเป็นเครือข่าย)
[ตัวอย่าง
:]
(
https://www.google.com/url?sa=t&source=web&rct=j&url=https://so02.tci-thaijo.org/index.php/JCDLQ/article/download/127543/98061/&ved=2ahUKEwiZ5oSNr6HpAhVMWH0KHdeTC8EQFjADegQIBRAI&usg=AOvVaw2DPIFz-mq1M_mblX0p-uVE&cshid=1588842026590
)
Community Ownership
2.ในกระบวนการตัดสินใจและยอมรับผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนั้น
3.ในกระบวนการตัดสินใจและยอมรับผลที่เกิดขึ้นจากกระบวนการนั้น
1.ในการมีสิทธิ์ออกเสียงและร่วมคิดร่วมทำในกระบวนการพัฒนา
การที่จะทำให้ชุมชนเกิดการพัฒนาเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นจนสามารถพึ่งตนเองจัดการกับปัญหาของตนเองได้อย่างยั่งยืนนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของชุมชน
บทบาทและสมรรถนะของพยาบาลในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
2.มีศักยภาพในการเป็นพี่เลี้ยงที่มีคุณภาพ
3.มองทุกอย่างแบบบูรณาการ
1.เห็นคุณค่าความเป็นคนและตนเองและเพื่อนมนุษย์
4.ประสานงานได้รอบด้าน
ปัจจัยที่สนับสนุนและท้าทายการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน
ปัจจัยภายใน
3.อิทธิพลของผู้นำและหรือผู้ปกครองชุมชน
4.ระบบข้อมูลข่าวสารในชุมชน
2.ทุนทางสังคม
5.การสื่อสารในชุมชน
1.ความเชื่อหรืออุดมการณ์ร่วมของชุมชน
6.ความร่วมมือในชุมชน ความขัดแย้งและปฏิเสธ
7.การมีกิจกรรมร่วมกันของชุมชนอย่างต่อเนื่อง
ปัจจัยภายนอก
1.แหล่งสนับสนุนความเข้มแข็งของชุมชน
2.เครือข่ายความร่วมมือและการแข่งขันระหว่างชุมชน