Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลุ่มอาการที่ได้รับบาดเจ็บ, นส นิลาวรรณ นันต๊ะ เลขที่29 รุ่นที่35 - Coggle…
กลุ่มอาการที่ได้รับบาดเจ็บ
1.Abdominal injury
มี2ประเภท
การบาดเจ็บชนิดไม่มีบาดแผลฉีกขาด (Blunt injury) เกิดจากแรง
กระแทกหรือแรงกระแทกหรือแรงกดได้แก่ จากอุบัติเหตุรถชน วัตถุมน้ําหนักมากหล่นทับ ถูกกระทบ ถูกต ตกจากที่สูง เป็นต้น
การบาดเจ็บชนิดที่มีแผลเป็ตหรือแทงทะลุ (Penetrating injury) เกิดจากวัตถุที่มีความคมทําให้มีแผลรูเปิดหรือทะลุ ได้แก่ การถูก ยิ่ง ถูกแทง ถูกสะเก็ดระเบิด เป็นต้น
การประเมินผู้ป่วย
ตรวจร่างกาย
ควรตรวจอย่างเป็นระบบ เริ่มจาก “ดู ฟัง เคาะ คลำ” และตรวจ pelvis, buttocks, urethra, perineal, และตรวจ rectal/vaginal exam ถ้าจำเป็น
ดู ฟัง เคาะ คลำ: ต้องถอดเสื้อผ้าออกทั้งหมด
ดู: ตั้งแต่ lower chest ถึง perineum ทั้งด้านหน้าหน้าและหลัง ดู flank, scrotum, urethral meatus, perianal area; หลังจากตรวจแล้วให้คลุมด้วย warmed blanket
ฟัง: จำเป็นต้องตรวจ แต่การมีหรือไม่มี bowel sounds มักไม่สัมพันธ์กับ injury
เคาะ: ช่วยตรวจหา peritoneal irritation ระวังถ้าตรวจพบ rebound tenderness แล้ว ไม่ควรไปตรวจหา peritoneal irritation signs ด้วยวิธีอื่นๆอีก เพราะทำให้ผู้ป่วยเจ็บตัวโดยไม่จำเป็น
คลำ: ตรวจหา involuntary guarding (peritoneal irritation) และช่วยแยกระหว่าง superficial (abdominal wall) จาก deep tenderness; คลำ pregnant uterus ประเมิน GA
ซักประวัติ
1.ซักประวัติอาจได้จากผู้โดยสารคนอื่น คนที่เห็นเหตุการณ์ ตำรวจ หรือถ้าได้จาก prehospital provider ควรได้ประวัติ V/S, การบาดเจ็บที่เห็นได้ชัด, และการตอบสนองต่อการรักษาเบื้องต้นด้วย
2.อุบัติเหตุรถยนต์: ความเร็วรถยนต์ ชนด้านใด(หน้า หลัง ข้าง หมุน คว่ำ) รถบุบเข้ามาด้านในห้องผู้โดยสารคาดเข็มขัดนิรภัยแบบใดถุงลมนิรภัยทำงานตำแหน่งในรถยนต์ผู้โดยสารคนอื่นเป็นอย่างไร; ตกจากที่สูง: ความสูง?
3.Penetrating trauma: ชนิดของอาวุธ(มีด ปืนพก ปืนลูกซอง ปืนยาว) ระยะห่าง (ในปืนลูกซองถ้าห่าง > 3 เมตรจะมีโอกาสบาดเจ็บอวัยวะภายในลดลง) โดนแทงกี่ที่ปริมาณเลือดออกในที่เกิดเหตุ ตำแหน่งและความรุนแรงของอาการปวด
4.ระเบิด: ระยะห่าง ระเบิดในที่ปิด (visceral overpressure)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
การรักษาด้วยวิธีการผ่าตัด
การเปิดช่องท้องเข้าไป (Exploratory Laparotomy)
การรักษาด้วยวิธีไม่ผ่าตัด
2.Spinal injury
การบาดเจ็บที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อกระดูกสันหลังเนื้อเยื่อโดยรอบ หรือเส้นประสาทที่อยู่ภายในกระดูกสันหลัง
การจำแนกประเภท (Classification)
1.)บาดเจ็บต่อกระดูกสันหลัง (Only Spinal Fracture)
ระดับคอ(Cervical level)
ระดับทรวงอก,ทรวงอก-เอว (Thoracolumbar level)
ระดับเอว(Lumbar level)
ระดับสะโพก(Sacral level)
2.)บาดเจ็บต่อไขสันหลัง (Only Spinal Cord Injury)
3.)บาดเจ็บต่อกระดูกและไขสันหลัง (Spinal Fracture & Spinal Cord Injury)
ลักษณะสำคัญทางคลีนิก (Clinical Manifestation)
1.) ปวด เกิดได้จากไขสันหลัง-เส้นประสาทถูกกดทับ, กระดูกสันหลังหัก
2.)กลุ่มอาการสูญเสียหน้าที่ของไขสันหลัง (Neurological deficit)
3.)Neurogenic shock ภาวะ Shockจากไขสันหลัง
บาดเจ็บ ความดันต่ำ แต่ชีพจรเต้นช้า ซึ่งแตกต่างจากภาวะ
4.)Shock จากการสูญเสียน้ำในร่างกาย (Hypovolemic shock) ชีพจรเต้นเร็ว
การประเมินความผิดปกติทางระบบประสาท (Neurological assesment)
Frankel scale
ASIA (American Spinal Injury Association ) Mortor scoring system
การวินิจฉัย
ข้อสังเกตที่ช่วยในการวินิจฉัยบาดเจ็บที่ไขสันหลัง
1.)ความดันโลหิตต่ำแต่ชีพจรช้า
2.)หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
3.)อ่อนแรง แขน, ขา
4.)ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยความเจ็บปวด
การซักประวัติ
ตรวจร่างกายทางระบบประสาทเพื่อบ่งบอกระดับและขอบเขตของรอยโรค
ประกอบกับภาพรังสีวินิจฉัย(Image): x-ray ,Myelography, CT-scan, MRI สามารถทำการวินิจฉัยได้อย่างถูกต้อง
การรักษา
1.)Transfer : การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยควรระมัดระวังอย่างยิ่งในการเคลื่อนย้ายป้องกันการบาดเจ็บจากการกดทับไขสันหลังโดยเคลื่อนลำตัว, ศีรษะและแขนขา ไปพร้อมกันในแนวตรง
2.)Resuscitation&Neurological evaluation โดยป้องกันและรักษาภาวะพร่องออกซิเจน(Hypoxia)และความดันโลหิตต่ำ (Hypotension)จาก Hypovolumic shock,spinal shock
3.)Spinal Reductiion and Stabilization การรักษากระดูกสันหลังหัก ให้แนวกระดูกสันหลังกลับสู่สภาวะปกติ และยึดไม่ให้เคลื่อนที่ มี 2 วิธี รักษาโดยการไม่ผ่าตัดและรักษาโดยการผ่าตัด
4.)Spinal Decompression : เป็นภาวะเร่งด่วนที่ต้องรีบผ่าตัดแก้ไขการกดทับไขสันหลัง
5.)การรักษาด้วยยา : อาจพิจารณาให้ยา Methyl prednisolone ขนาดสูง
6.)กายภาพบำบัด : เป็นงานหลักในระยะหลังผู้ป่วยที่เป็นอัมพฤกษ์มอัมพาต
นส นิลาวรรณ นันต๊ะ เลขที่29 รุ่นที่35