Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวางแผนการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง 564312852216…
การวางแผนการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูง
ระยะตั้งครรภ์
5.แนะนำหากหญิงตั้งครรภ์มียาที่ต้องรับประทานเพื่อควบคุมค่าความดันโลหิต ควรรับประทานให้ครบถ้วนและต้อเนื่องตามแผนการรักษาของแพทย์ห้ากยาหมดไม่ควรไปซื้อยามารับประทานเองควรมีปรึกษาแพทย์และไม่ควรหยุดการทานยาเอง
6.แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์เลี่ยงสถานการณ์ที่ทำให้เกิดความเครียด โดยการจัดการความเครียดอย่างถูกวิธีเช่นการทำกิจกรรมต่างๆที่ชอบ
- แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวและการป้องกันไม่ให้มีความดันโลหิตสูงเพิ่มมากขึ้นเช่น การรับประทานอาหารความรับประทานอาหารให้ครบ5 หมู่ ควรงดอาหารหมักดอง และอาหารที่มีรสชาติเค็ม ดื่มน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย เพื่อช่วยในการควบคุมค่าความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ที่ปกติ
- ให้ข้อมูลแก่หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับภาวะเสี่ยงต่อการมีค่าความดันโลหิตสูงที่เพิ่มมากกว่า 140/90 mmhgเพื่อให้มีความตระหนักต่อการดูแลตนเอง
7.แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการนอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายและควรนอนในท่าตะแคงซ้ายเพื่อให้เลือดสามารถไหลเวียนไปสู่รกและทารกได้ดี
- ซักประวัติเกี่ยวกับกิจกรรมหรืองานที่ทำในแต่ละวันเพื่อทราบว่ากิจกรรมหรืองานนั้นๆมีผลต่อการเพิ่มค่าความดันโลหิตสูงหรือไม่เพื่อที่จะได้เสนอแนวทางในการปรับกิจกรรมหรืองานนั้นๆเพราะอาจส่งผลต่อค่าความดันที่เพิ่มสูงได้
- แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์หมั่นนับลูกดิ้นอย่างถูกวิธีเพื่อทีาจะได้ทราบหากมีความผิดปกติต่อทารกในครรภ์
- ตรวจร่างกายของหญิงตั้งครรภ์เพื่อหาความผิดปกติที่อาจเกิดได้ เช่น มีการบวมน้ำตามร่างกายเช่น หลังเท้า หน้าขา การตรวจวันค่าความดันโลหิตสูง การตรวจปัสสาวะเพื่อทีาบค่าระดับน้ำตาลและโปรตีนในปัสสาวะ และดูแลในการตรวจครรภ์เช่นการตรวจด้วย NST
9.แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์สังเกตอาการที่ผิดปกติของตนเองที่อาจแสดงถึงความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูงได้เช่น การมีภาวะบวมน้ำ มีอาการปวดศีรษะมาก มีอาการหน้ามืด มีตาพร่ามัวเพื่อที่จะได้มารับการตรวจรักษาได้ทีนที
ระยะคลอด
- ประเมินทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด โดยการฟังเสียงหัวใจ ทารกเป็นระยะและตรวจติดตามอัตราการเต้นของ หัวใจทารกในครรภ์ด้วยเครื่อง Electronic fetal heart rate monitoringรวมทั้งบันทึก
- บรรเทาความเจ็บปวดในระยะคลอด โดยอยู่เป็นเพื่อนสัมผัสให้ความอบอุ่น ช่วยเหลือผู้ป่วยในการควบคุมการหายใจ
- ประเมินการหายใจและ O2 Sat เพื่อประเมินภาวะ Tissue perfusion
-
- ดูแลววัดความดันโลหิตเพื่อติดตามและประเมินความรุนแรงของโรค
- ดูแลให้ได้รับยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษา
- ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้น เช่น Headache,visual disturbance, epigastric pain
- ดูแลติดตามอาการข้างเคียงของยาลดความดันโลหิต
- เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงอย่างใกล้ชิดและตลอดเวลา
-
-
ระยะหลังคลอด
-
-
3.ติดตาของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดเฝ้าระวังการตกเลือดหลังคลอดซึ่งพบได้บ่อยขึ้นในผู้ป่วย preeclampsia อันเนื่องมาจากมดลูกไม่หดรัดตัว (uterine atong) และการฉีกขาดของช่องทางคลอดจากการทำหัตถการช่วยคลอดผู้ป่วย
-
-
-
-