Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพ การพยาบาลและการผดุงครรภ์,…
กฎหมายแพ่งที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติวิชาชีพ
การพยาบาลและการผดุงครรภ์
ข้อจํากัดและเงื่อนไขในการ
รับมอบหมายให้ ประกอบวิชาชีพเวชกรรม
บุคคลที่สามารถทำการ
ประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
ผู้ช่วยพยาบาลและผดุงครรภ์
ผู้ช่วยพยาบาลและจิตเวช
พนักงานสุขภาพชุมชน
ผู้สำเร็จประกาศนียบัตรสาธารณสุขศาสตร์
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์ ชั้น 1 ชั้น 2
การรักษาพยาบาลอื่น
การฉีดเซรุ่มแก้พิษงู
การสวนปัสสาวะ
การให้น้ำเกลือในผู้ป่วยท้องเดินอย่างรุนแรง
การสวนล้างกระเพาะปัสสาวะอาหาร
ด้านศัลยกรรม
เย็บบาดแผลที่ไม่สาหัส
ชะล้าง ทำแผล ตกแต่งบาดแผล
ผ่าเอาสิ่งแปลกปลอมโดน
ฉีดยาระงับความรู้สึกทางผิวหนัง
ผ่าฝี
ด้านอายุรกรรม
ไข้ ตัวร้อน คลื่นไส้อาเจียนไปนำกัน
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ด้านสูตินรีเวชกรรม
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค
การวางแผนครอบครัว
ทำการช่วยเหลือในกรณีที่จะมีการทำแท้ง
การเจาะโลหิตจากปลายนิ้ว
ทำการช่วยเหลือขั้นต้น
ในรายที่มีการคลอดผิดปกติ
ด้านปัจจุบันพยาบาล ให้การปฐมพยาบาล
ทำคลอดในปกติรายปกติ
เจ้าพนักงานสาธารณสุข
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)
พนักงานอนามัย
ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
หรือผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลผดุงครรภ์ยอมรับ
ซึ่งได้ผ่านการอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับ
การผ่าตัดทำหมันหญิงหลังคลอด แล้วแต่กรณี
ผู้ได้รับประกาศนียบัตรการศึกษาหรือ
การอบรมในหลักสูตร ให้อยู่ในการควบคุมของเจ้าหน้าที่
บุคคลซึ่งผ่านการศึกษาหรือฝึกอบรมในหลักสูตร
ที่เกี่ยวกับวิชาวิทยาศาสตร์คำถามการแพทย์
ทำการประกอบวิชาชีพได้
บุคคลซึ่งได้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรการผดุงครรภ์
โบราณของกระทรวงสาธารณสุข ทำการรับฝากครรภ์
และทำคลอดในรายปกติได้
ผู้ที่ มอบหมายให้ทำการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรมต้องเป็นบุคคลซึ่งระเบียบกำหนด
อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมู่บ้าน
ได้ผ่านการอบรมได้รับหนังสือรับรอง
ความรู้ความสามารถจากกระทรวงสาธารณสุข
ให้อาสาสมัครของสมาคมวางแผนครอบครัว
ทำการจะยาเม็ดคุมกำเนิดที่มีตราของ
สมาคมประทับที่แผงยาได้
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้น 1 หรือชั้น 2
ซึ่งได้ผ่านการอบรมตามหลักสูตรของ
กระทรวงสาธารณสุข ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
ขอรับการใส่ห่วงอนามัยได้คลอดบุตร
มาแล้ว 45 - 60 วันและยังไม่มีประจำเดือน
ผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัย ได้คลอดหรือแท้งบุตรมาแล้ว
30 วันและยังไม่มีประจำเดือน
ทดสอบผู้ขอรับการใส่ห่วงอนามัยแล้วว่าไม่ตั้งครรภ์
ให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ ชั้น 1 ทำ ทำการประกอบวิชา
ทำการประกอบวิชาชีพ ทำการประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้
การใช้ยาตามบัญชียา ต้องไม่เกิน
รายการบัญชียาสามัญประจำบ้าน
ตามกฎหมายว่าด้วยยา
รายการยาสถานีอนามัย
บุคคลซึ่งได้รับมอบหมายจะทำ
การประกอบวิชาชีพเวชกรรมได้เฉพาะ
ต้องเป็นการปฏิบัติราชการหรืออยู่ในสภาพยาบาล
ของทางราชการเท่านั้น
บุคคลที่ได้รับมอบหมายตามระเบียบต้อง
อยู่ในความควบคุมของเจ้าหน้าที่
เพื่อเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการหรือเงื่อนไขที่ระเบียบกำหนด
ให้ผู้ประกอบวิชาขีพการพยาบาลชั้น 1 และชั้น 2
ผู้มีประกาศนียบัตรผู้ช่วยพยาบาล
ทำการประกอบอาชีพเวชกรรมได้
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
การประกอบอาชีพการพยาบาล
เสี่ยงโอกาสที่จะปฏิบัติเกินขอบเขต
ที่กฎหมายวิชาชีพกำหนดมากขึ้น
ช่วยให้การปฏิบัติงานในวิชาชีพเกิดความปลอดภัย
ทั้งผู้รับบริการและประกอบวิชาชีพเอง
ระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
เป็นส่วนหนึ่งของกฎหมายสาธารณสุขที่กำหนดสิทธิและ
หน้าที่ในการป้องกันและรักษาไว้ซึ้งชีวิต
การประกอบวิชาชีพเวชกรรม
การปฐมพยาบาลเกี่ยวกับบาดแผลสด
เจาะโลหิตเพื่อตรวจหาเชื้อไข้จับสั่น การใช้ยา
ยาสมุนไพรที่กำหนดใน
แบบเรียนของกระทรวงสาธารณสุข
ยาที่สั่งให้จ่ายให้ คนไข้เฉพาะราย และเฉพาะคราว
ยาสามัญประจำบ้านตามกฎหมาย
การรักษาพยาบาลเบื้องต้น
ผู้ประกอบวิชาชีพต้องมีความสัมพันธ์กับทุกคน
การปฏิบัติการพยาบาลในบางครั้ง อาจทำให้เกิด
ความเสียหายต่อร่างกายหรือทรัพย์สินของผู้ป่วย
ก็ให้เกิดการเรียกร้องค่าเสียหายได้ในอนาคต
กฎหมายอาญา กฎหมายแพ่ง
กับการประกอบวิชาชีพ
เป็นการปฏิบัติงานที่กระทำต่อชีวิตมนุษย์
หากเกิดความผิดพลาดย่อมทำให้เกิด
ความเสียหายขึ้นกับชีวิต
ความเสียหายที่เกิดขึ้นอาจทำให้
ผู้ประกอบวิชาชีพต้องได้รับโทษ
ลักษณะกฎหมาย
ความเสียหายในทางแพ่งจะมีผลกระทบ
ต่อบุคคลที่เป็นคู่กรณีเท่านั้น
การฟ้องร้องคดีผู้เสียหายจึงต้องฟ้องต่อศาลเอง
เป็นกฎหมายเอกชนที่กำหนดความสัมพันธ์
ระหว่างเอกชนกับเอกชนที่เกี่ยวข้อง
กับการดำเนินชีวิตของประชาชนทุกคน
หากประนีประนอมกันได้ระหว่างดำเนินคดี
ศาลก็อนุญาตให้ถอนฟ้องคดีได้
ความสัมพันธ์ของบุคคล
สัญญา
ความหมาย
การตกลงด้วยความสมัครใจ
ระหว่างบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป
เจตนาต้องถูกต้องตรงกัน
ละเมิด
หมายถึง
การกระทำหรืองดเว้นการกระทำ
ที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ชีวิต
อนามัย เสรีภาพ หรือสิทธิ์ของผู้อื่น
องค์ประกอบของการกระทำละเมิด
การกระทำโดยจงใจหรือ
ประมาทเลินเล่อ
กระทำโดยรู้สำนึกและในขณะเดียวกัน
ก็รู้ว่าจะทำให้เกิดความเสียหาย
เช่น เจตนาฆ่า หรือทำร้ายร่างกาย
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
คือการกระทำนั้นก็ให้เกิดความเสียหายขึ้น
ซึ่งอาจเป็นความเสียหายที่เกิดต่อร่างกาย
หรือทรัพย์สินก็ได้
กระทำโดยบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
หมายถึงการประทุษต่อผู้อื่นโดย
ผิดกฎหมาย โดยการฝ่าฝืนต่อ
กฎหมายที่ห้ามไว้ ละเลยไม่กระทำ
ในสิ่งที่กฎหมายบัญญัติให้กระทำ
นิติกรรม
องค์ประกอบของนิติกรรม
มีการกระทำ เป็นการกระทำใดๆได้ทั้งสิ้น
เช่น ด้วยการบอกกล่าวด้วยวาจาเป็นลายลักษณ์อักษร
หรือโดยการกระทำสัญลักษณ์ก็ได้
การกระทำนั้นโดยชอบด้วยกฎหมาย
หรือไม่ขัดต่อกฎหมาย
ประเภท
นิติกรรมฝ่ายเดียว
เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคลากร
ฝ่ายหนึ่งฝ่ายเดียว เช่น การทําพินัยกรรม
นิติกรรมสองฝ่าย
เกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคล
ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป โดยฝ่ายหนึ่งแสดงเจตนา
เป็นคำเสนอ และอีกฝ่ายหนึ่งแสดงคำสนอง
เช่น สัญญาว่าจ้าง สัญญาซื้อขาย เป็นต้น
หมายความว่า
ป.พ.พ.มาตรา 149 นิติกรรม
การใดๆอันทำลงโดยชอบด้วยกฎหมาย
และด้วยใจสมัครมุ่งโดยตรง ต่อการผูกนิติสัมพันธ์
คือการกระทำของบุคคลโดยชอบด้วยกฎหมาย
และสมัครใจมุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์
เพื่อก่อเปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ์
บุคคลที่กฎหมายหย่อนความสามารถ
ในการกระทำนิติกรรม
ผู้เยาว์
บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ
ยังมีอายุไม่ครบ 20 ปีบริบูรณ์
เมื่อทำการสมรสโดยชอบโดยกฎหมาย
ของหญิงและชายที่มีอายุ 17 ปีบริบูรณ์
การทำนิติกรรมของผู้เยาว์ต้องได้รับความยินยอม
จากผู้แทนโดยชอบธรรม คือ บิดามารดา
คนไร้ความสามารถ
คือคนวิกลจริตที่ศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถ
โดยสารจะแต่งตั้งให้คู่สมรส ผู้สืบสันดาน
หรือบุพการีของคนวิกลจริตเป็นผู้อนุบาล
และเป็นผู้ทำนิติกรรมแทนคนไร้ความสามารถ
คนเสมือนไร้ความสามารถ
บุคคลที่ไม่สามารถจัดการงานของตนเองได้
การพิการหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย เสเพลเป็นอาจิณ
ติดสุรายาเมา
การชดใช้ค่าเสียหาย
สภาพบังคับของกฎหมาย
โมฆียกรรม
คือนิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ในขณะที่ทำ แต่ถูกฝ่ายที่เสียเปรียบ
บอกล้างได้ในเวลาต่อมา มีผลให้นิติกรรมนั้นสิ้นสุดลง
และตกเป็นโมฆะกรรม โมฆียกรรมเมื่อบอกล้างแล้ว
ให้ถือว่าเป็นโมฆะมาแต่เริ่มแรก
องค์ประกอบ
นิติกรรมที่ทำขึ้นโดยสำคัญผิด
ในคุณสมบัติของคู่สัญญา
นิติกรรมทำขึ้นโดยคู่สัญญา
หย่อนความสามารถในการทำนิติกรรม
การชดใช้ค่าเสียหาย
กฎหมายแพ่งได้รับรองสิทธิ์ให้ผู้ที่
ได้รับความเสียหายมีสิทธิ์เรียกร้อง
ให้ผู้กระทำผิดชดใช้ค่าเสียหาย
โมฆะกรรม
คือความสูญเปล่าของนิติกรรม มีผลเสมือนหนึ่งว่า
ไม่ได้มีการกระทำนิติกรรมนั้นขึ้น และผู้เสียหาย
ไม่มีสิทธิ์เรียกร้องตามกฎหมาย
องค์ประกอบ
ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
เป็นการพ้นวิสัย
ขัดต่อความสงบเรียบร้อย
และศีลธรรมอันดีของประชาชน
การบังคับชำระหนี้
เป็นการบังคับชำระด้วยเงิน
หรือการส่งมอบทรัพย์สิน
หรืองดการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่ง
กรณี
กรณีทรัพย์สินเสียหาย
ป.พ.พ มาตรา 438 วรรคสอง
การคืนสินทรัพย์ที่ผู้เสียหายสูญเสียไป
เพราะการละเมิด
ผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
ป.พ.พ มาตรา 443 ค่าสินไหมทดแทน
ที่จะต้องชดใช้ให้กับทายาท
ค่าแรงงาน
ค่ารักษาพยาบาลและค่าขาดประโยชน์
ทำมาหาได้ก่อนตาย
ค่าขาดไร้อุปการะเลี้ยงดู
ค่าปลงศพและค่าใช้จ่ายอันจำเป็น
เกี่ยวกับการปลงศพ
ผู้เสียหายถึงแก่ความตาย
เพียงแต่ได้รับอันตรายแก่ตาย
ค่าขาดประโยชน์ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
ค่าสูญเสียความสามารถในการประกอบอาชีพ
ค่ารักษาพยาบาลอันจำเป็นแก่อาการ
ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน
ค่าทำขวัญ เป็นค่าเสียหายที่กำหนดขึ้นเพื่อทดแทนความเสียหาย
คือค่าเสียหายเฉพาะตัวผู้เสียหายเท่านั้น
ไม่ตกทอดไปยังทายาท
ผู้ร่วมรับผิดในการกระทำละเมิด
ผู้มีส่วนร่วมหรือรู้เห็นในการกระทำ
อาจต้องรับผิดในการกระทำละเมิด
นายจ้างกับลูกจ้าง
ต้องรับผิดชอบกับลูกจ้างในผลการละเมิด
ที่เกิดจากการปฏิบัติของลูกจ้างในทางการจ้าง
กฎหมายกำหนดให้บิดามารดาหรือผู้อนุบาล
ต้องรับผิดชอบต่อผลการละเมิดที่เกิดขึ้น
ครูอาจารย์กับผู้ที่อยู่ในความดูแลของตน
ป.พ.พ. 430 กฎหมายกำหนดให้ครูอาจารย์
รับผิดชอบต่อผลของการกระทำ
ละเมิดของบุคคลที่อยู่ในความดูแลของตน
ซึ่งได้กระทำลงขณะที่ผู้นั้นอยู่ในความดูแลของตน
ตัวการร่วมรับผิดชอบกับตัวแทน
ป.พ.พ มาตรา 427 กฎหมายกำหนดให้
ตัวการรับผิดต่อผลการกระทำของตัวแทน
ซึ่งได้กระทำไปในขอบอำนาจของ
ตัวแทนซึ่งได้รับมอบหมายจากตัวการ
การร่วมกันทำละเมิด
ป.พ.พมาตรา 432 ถ้าบุคคลหลายคนก่อให้
เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นโดยร่วมกันทำละเมิด
ต้องร่วมกันรับผิดใช้ค่าสินไหมทดแทน
คือเกิดจากการกระทำละเมิดให้กับผู้เสียหาย
ตามกฎหมายแพ่ง เรียกว่า ค่าสินไหมทดแทน
ความรับผิด
ความรับผิดตามสัญญา
เป็นความตกลงด้วยในสมัครระหว่างบุคคล
ตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไปว่าจะกระทำหรืองดเว้น
กระทำกี่อันชอบด้วยกฎหมาย
ความรับผิดจากการละเมิด
คือการกระทำรวมถึงการงดเว้นที่ทำให้เกิด
ความเสียหายแก่ชีวิต อนามัย ทรัพย์สิน และสิทธิ์ต่างๆ
ความรับผิดทางแพ่ง
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ป่วยหรือผู้รับบริการ
เปลี่ยนจากความสัมพันธ์ที่มีความนับถือ
เป็นความสัมพันธ์ในเชิงกฎหมาย
หลักสำคัญที่ถือว่าเป็นการละเมิด
กระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
กระทำโดยจงใจทางแพ่ง ตามประมวลอาญาซึ่งบัญญัติว่า
การกระทำโดยสำนึก ในการที่กระทำและในขณะเดียวกัน
กระทำประสงค์ตอบผลหรือย่อมเล็งเห็นผล
ของการกระทำนั้น
ทำให้บุคคลอื่นเสียหายแก่ชีวิต
ร่างกาย เสรีภาพ ทรัพย์สิน
หรือสิทธิอย่างใดอย่างหนึ่ง
ผู้กระทำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ค่าขาดไร้อุปการะ
ค่าขาดแรงงาน
ค่าปลงศพ
กรณีผู้เสียหายไม่ถึงแก่ความตาย
ผู้ที่ละเมิดต้องชดใช้ค่า
สินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหาย
ค่าเสียความสามารถประกอบการงานในอนาคต
ค่าเสียหายอื่นอันมิใช่ตัวเงิน
ค่ารักษาพยาบาลค่าขาดประโยชน์
ทำมาหาได้ในระหว่างเจ็บป่วย
กระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
หมายถึง การกระทำผิดกฎหมายอาญา
หรือกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง
ผู้กระทำต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
ความหมายของอายุความ
ระยะเวลาของกฎหมายที่ กำหนดไว้
บุคคลมีสิทธิ์เรียกร้องจำต้องใช้สิทธิ
เรียกร้องของตนภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
นางสาวสิรินทิพย์ เหล่าสมบูรณ์
612001119 เลขที่ 38 รุ่น 36/2