Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of passenger, นางสาวจุไรรัตน์ นาคน้อย เลขที่ 16 รหัสนักศึกษา…
Abnormality of passenger
ความผิดปกติของส่วนนำและท่าของทารก
1.ท่าท้ายทอยอยู่ด้านหลังแล้วไม่หมุนมาด้านหน้า
(0cciput posterior persistent: OPP)
สาเหตุ
ศีรษะทารกก้มน้อยหรือช้าไปเมื่อเข้าสู่ช่องเชิงกราน
ศีรษะทารกใหญ่หรือเล็กเกินไป ทำให้ไม่กระชับกับช่องทางคลอด
เชิงกรานแคบ โดยแคบในแนวขวางของ midpelvic
ผนังหน้าท้องหย่อนยานมาก
มีสิ่งกีดขวางการหมุน
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี หรือแรงเบ่งน้อย
กล้ามเนื้อพื้นเชิงกรานหย่อน
ผลกระทบ
การคลอดยาวนาน คลอดยากหรือหยุดชะงัก
อาจต้องใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
ผู้คลอดปวดหลังและเอวมาก
ผนังช่องคลอดและผีเย็บยืดขยายและฉีกขาดมาก
ปากมดลูกบวม และอาจฉีกขาดได้
ผู้คลอดเหนื่อยล้า ติดเชื้อและตกเลือดหลังคลอดได้ง่าย
กระทบกระเทือนด้านจิตใจมาก
ทารกเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกได้รับอันตรายจากการใช้เครื่องมือช่วยคลอด
มารดาเครียด วิตกกังวล คับข้องใจ
การดูแลรักษา
กรณีที่ช่องเชิงกรานกว้างพอช่องคลอดและผีเย็บยืดหยุ่นดี สามารถให้คลอด
ทางช่องคลอดได้อาจให้ยาช่วยกระตุ้นให้มดลูกหดรัดตัวดี
ใช้มือช่วยหมุนศีรษะทารกให้เป็น 0A โดยสอดมือเข้าไปคลำตรงบริเวณหูทารก
แล้วช่วยหมุน
ใช้คืม Kielland forceps ช่วยหมุนเปลี่ยนท่าจาก OPP เป็น OAแล้วดึงช่วย
คลอดต่อไป
ใช้เครื่องดูดสุญญากาศในการช่วยคลอดในกรณีที่แพทย์ไม่ชำนาญการหมุน
หรือใช้คีม
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง ในกรณีที่เชิงกรานชนิด Android
2. ท่าก้น
(Breech presentation)
สาเหตุ
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกตัวเล็ก
ครรภ์แฝด หรือครรภ์แฝดน้ำ
ผนังหน้าท้องหรือกล้ามเนื้อมดลูกหย่อน
กระดูกเชิงกรานแคบ
มีสิ่งกีดขวางการเข้าสู่ช่องเชิงกราน
ทารกโตช้าในครรภ์ ทารกตายในครรภ์ หรือทารกพิการหรือรูปร่างผิดปกติ
ผลกระทบ
ระยะการคลอดยาวนานโดยเฉพาะระยะที่ 2 ของการคลอด
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนด
การฉีกขาดของช่องทางคลอดอ่อน
การติดเชื้อหลังคลอด
ตกเลือดหลังคลอดช่องทางคลอดฉีกขาดมาก หรือมดลูกแตก
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน
เลือดออกในสมองของทารก
ทารกไต้รับบาดเจ็บจากการคลอด
อัตราตายสูงกว่าการคลอดที่มีศีรษะเป็นส่วนนำ 3-5 เท่า
การพิจารณาให้คลอดทารกท่าก้นทางช่องคลอด
มีกันเป็นส่วนนำแบบ frank breech
ศีรษะทารกอยู่ในลักษณะก้ม
คาดคะเนน้ำหนักทารกน้อยกว่า 3,500 กรัม
อายุครรภ์ 36 - 42 สัปดาห์
ช่องเชิงกรานมีขนาดและรูปร่างปกติ
มีอุปกรณ์และบุคลากรทางการแพทย์พร้อม
ข้อควรระวังในการช่วยคลอดทารกท่าก้นทางช่องคลอต
สวนปัสสาวะทิ้งก่อนทำการช่วยคลอด
การตัดผีเย็บทุกรายแบบเฉียงและตัดให้ยาวมากกว่าปกติ
ช่วยป้องกันการฉีกขาดของฝีเย็บขณะที่ก้น ลำตัว ไหล่ และศีรษะคลอดออกมา
เมื่อก้นคลอดออกมาจนถึงระดับสะตือแล้ว ให้ใช้นิ้วดึงสายสะตือให้เคลื่อนต่ำออกมา
ภายนอก
เมื่อไหล่คลอดออกมาแล้ว ต้องอให้ศีระทารกก้มและหมุนกายในก่อน ขณะรอให้ใช้ผ้าอุ่นคลุมลำตัวทารกไว้ก่อน
รายที่การคลอดเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว จนแพทย์ไม่สามารถมาช่วยคลอดได้ทัน ให้ช่วยเหลือโดยการตัดฝีเย็บและช่วยพยุงทารกออกมาตามวิธีของ Brancht maneuver
3. ท่าหน้า
(face presentation)
เกิดจากการเงยของศีรษะแทนที่จะก้มตามปกติเมื่อผ่านเข้าสู่ช่องเชิงกราน ท้ายทอยอยู่ชิดกับหลัง มีคางเป็นส่วนนำ
4. ท่าหน้าผาก
(Brow presentation)
สาเหตุ
เชิงกรานแคบหรือศีรษะทารกโต
ทารกมีรูปร่างผิดปกติ
ผนังหน้าท้องหย่อนมาก
ครรภ์แฝดน้ำ
มีสิ่งกีดขวางในช่องเชิงกรานที่ขัดขวางการลงของท้ายทอย
ผลกระทบ
การคลอดยาวนาน
ผู้คลอดและทารกมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการคลอดยาวนาน
ผู้คลอดเหนื่อยล้า
อาจเกิดภาวะมดลูกแตก
ฝีเย็บและช่องทางคลอดฉีกขาดมาก
ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อภาวะขาดออกซิเจน
ถุงน้ำแตกก่อนกำหนดและอาจเกิดภาวะสายสะดือพลัดต่ำ
บริเวณใบหน้า ริมฝีปาก ลิ้นของทารกบวมผิตรูปผิตร่าง อาจมีอาการหายใจ
ลำบาก
5. ท่าขวาง
(Transverse lie)
ปัจจัยส่งเสริม
มีปัจจัยที่ทำให้ทารกเคลื่อนไหวได้สะดวกมาก
1.1 ผนังหน้าท้องและมดลูกหย่อนยาน
1.2 ครรภ์แฝดน้ำ
มีปัจจัยที่ทำให้ ทารกเช้าสู่ช่องเชิงกรานไม่ได้
2.1 รกเกาะต่ำ
2.2 ช่องเชิงกรานแคบ
2.3 ทารกหัวบาตร
2.4 สายสะดือสั้นกว่าปกติมาก
2.5 มีเนื้องอกในอุ้งเชิงกราน
ผลกระทบ
การคลอดยาวนานหรือคลอดติดขัด
เกิดสายสะตือผลัตต่ำหรือถูกกดได้มาก
เกิดการติดเชื้อในโพรงมดลูกได้มาก
มีอาการเจ็บปวดมาก
เกิดมดลูกแตก
ปากมดลูกและผนังช่องคลอดฉีกขาดได้มาก
ทารกมีโอกาสขาดออกซิเจน
ผู้คลอดมีความวิตกกังวล
6. ท่าผสม
(Compound presentation)
ท่าที่มีส่วนนำหลายอย่าง พบบ่อยคือ ศีรษะกับมือ มักต้องทำผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ความผิดปกติของขนาดและรูปร่าง
ทารกตัวโต (macrsomic) คือ ทารกที่น้ำหนักตั้งแต่ 4,000 กรัมขึ้นไป
ทารกหัวบาตร (hydrocephalus)
ทารกแฝดติดกัน (conjoined twins)
ทารกท้องโตผิดปกติ
ผลกระทบ
มักเกิดการคลอดยาก คลอดยาวนาน หรือคลอดติดขัด
ช่องทางคลอดอ่อนฉีกขาด
การดูแลรักษา
ใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอดในรายที่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
รายที่ประเมินได้ล่วงหน้าหรือรายที่ไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้มักพิจารณาผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
การคลอดไหล่ยาก (shoulder dystocia)
สาเหตุ
ทารกตัวโตมาก
ทารกมีเนื้องอกหรือพิการบริเวณต้นดอ ไหล่ และทรวงอก
ช่องเชิงกรานแคบ
ผลกระทบ
สายสะตือถูกกดทับ ตรงตำแหน่งระหว่างลำตัวทารกกับกระดูกช่องเชิงกราน
ทารกบาดเจ็บจากการช่วยคลอด
ทารกขาดออกซิเจนขณะคลอด
ทารกเสียชีวิต จากภาวะ chromic brain injury
ผู้คลอดช่องทางคลอดฉีกขาดหรือชอกช้ำ
ผู้คลอดตกเลือดหลังคลอด
ผู้คลอดได้รับอันตราย
การพยาบาล
กรณีที่ประเมินสภาพแล้วพบว่ามีความเสี่ยง ให้รายงานแพทย์ทราบเพื่อพิจารณาช่วยคลอดด้วยวิธีการที่เหมาะสม
กรณีที่มีภาวะคลอดไหล่ยากภายหลังจากศีรษะคลอดออกมาแล้ว ให้รีบรายงานแพทย์กุมารแพทย์ เตรียมทีมบุคลากรการพยาบาล และอุปกรณ์การฟื้นคืนชีพทารกให้พร้อม
กรณีที่ทำคลอดไหล่หน้าตามวิธีปกติไม่สำเร็จ ให้ปลี่ยนมาทำคลอดไหล่หลังก่อน หากยังไม่สำเร็จให้ปฏิบัติดังนี้
3.1 รีบขอความช่วยเหลือจากทีมบุคลากรการพยาบาลที่อยู่ใกล้ที่สุด
3.2 รายที่ทารกมีสายสะดือพันคอ ห้ามตัดสายสะดือ
3.3 รายที่ต้องรอแพทย์ ให้สวนปัสสาวะที่ค้างทิ้ง ช่วยเหลือเบื้องต้นก่อนด้วยวิธีของ MeRoberts (MeRoberts maneuver)
3.4 รายที่ใช้วิธีของ Mcobert ไม่ไต้ผล ให้ใช้วิธีการกดเหนือหัวเหน่า (suprapubic compression) ร่วมด้วย
3.5 รายที่ช่วยเหลือด้วยวิธีช้างตันแล้วไม่สำเร็จ ให้ช่วยด้วยวิธีการหมุนไหล่
ทารกแบบหมุนไขควง (Wood screw maneuve)
3.6 ใช้วิธีการช่วยคลอดไหล่หลัง (delivery of posterior arm) หากใช้วิธีการข้างต้นไม่สำเร็จ
3.7 ใช้วิธี Zavanelli maneuver หากใช้วิธีการทั้งหมดไม่ได้ผล
การดูแลทารกแรกคลอดต้องประเมินอาการผิดปกติ
ตรวจสอบการฉีกขาดของช่องทางคลอดอ่อน เย็บซ่อมแซมแผลฝีเย็บอย่างถูกวิธีหากฉีกขาดมากให้รายงานแพทย์
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอดและอาการแสดงของการตกเลือด
ให้การดูแลด้านจิตใจของผู้คลอด
นางสาวจุไรรัตน์ นาคน้อย เลขที่ 16 รหัสนักศึกษา 601401016