Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Abnormality of power, น.ส.กนกวรรณ กันสืบสาย เลขที่ 1 รหัส 601401001 -…
Abnormality of power
Abnormality of secondary power or force
ผลกระทบ
ผู้คลอดเกิดตะคริวบริเวณขาจากการขึ้นขาหยั่งเป็นเวลานานหรือทำให้เส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณอุ้งเชิงกรานถูกกดทับ
ผู้คลอดเกิดภาวะเลือดเป็นกรดจากการเบ่งคลอดนาน ซึ่งทำให้กล้ามเนื้อทำงานมาก ส่งผลให้ผลิต lactin และ piruvat ในเลือดมาก
2.ระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน เนื่องจากกลไกการเคลื่อนต่ำการก้มและการหมุนภายในของศีรษะทารกเกิดขึ้นช้า
5.ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะคับขันหรือขาดออกซิเจนได้ จากระยะที่ 2 ของการคลอดยาวนาน
1.ผู้คลอดหมดแรง เหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดน้ำจากการเบ่งคลอดนาน
การวินิจฉัย
3.การประเมินการหดรัดตัวของมดลูก มดลูกหดรัดตัวดี และผูู้คลอดเบ่งคลอดถูกต้อง การคลอดจะดำเนินไปตามปกติ
1.การประเมินวิธีการเบ่งคลอดของผู้คลอด
2.การประเมินการเคลื่อนต่ำการก้ม และการหมุนภายในของทารก
สาเหตุ
4.ผู้คลอดได้รับยาบรรเทาปวดในปริมาณมาก หรือได้รับในระยะเวลา
1-2 ชั่วโมงก่อนคลอดจึงมีอาการง่วงนอน ไม่อยากออกแรงเบ่ง
5.ผู้คลอดเจ็บครรภ์มาก ดิ้นไปมา ควบคุมตนเองไม่ได้
ผู้คลอดได้รับยาชาเฉพาะที่ เช่น การได้รับยาบริเวณ sacral nerveหรือpudendal nerve block ทำให้ขัดขวางความรู้สึกอยากเบ่ง
2.ท่าเบ่งคลอดไม่เหมาะสม เช่น ดิ้นไปมา หนีบขาหรือเกร็งกล้ามเนื้อช่องคลอดหรือฝีเย็บขณะเบ่งหรือท่าเบ่งคลอดไม่เหมาะสมคือนอนหงายราบ ขณะเบ่งคลอดไม่ได้ก้มศีรษะลง
ผู้คลอดอ้วนมาก ทำให้กล้ามเนื้อหน้าท้องไม่แข็งแรง
1.การเบ่งคลอดไม่ถูกวิธีเช่น ไม่ได้สูดลมหายใจเข้าลึกๆ ก่อนเบ่ง ใช้เวลาเบ่งแต่ละครั้งสั้นหรือนานเกินไป
ผู้คลอดมีโรคบางอย่างที่ทำให้มีแรงเบ่งน้อยหรือมีอันตรายหากเบ่งคลอด เช่น โรคหัวใจ โรคปอดชนิดรุนแรง หรือซีดมาก เป็นต้น
3.ผู้คลอดเหนื่อยอ่อนเพลีย หมดแรง มีภาวะขาดน้ำ เนื่องจากระยะเวลาการคลอดยาวนาน NPO ขณะคลอด
ความหมาย
ความผิดปกติของแรงเบ่งดลอดคือ ภาวะแรงเบ่งน้อยไม่มีแรงเบ่ง หรือเบ่งคลอดไม่ถูกต้อง
การรักษา
2.จัดท่าเบ่งคลอดให้เหมาะสม เชียร์เบ่งเมื่อมดลูกหดรัดตัว
3.และประเมินการเคลื่อนต่ำ การก้มและการหมุนภายในของทารกขณะเบ่งคลอด
1.ภาวะแรงเบ่งน้อยหรือเบ่งคลอดไม่ถูก ควรดูแลรักษาด้วยการสอนวิธีการเบ่งคลอดที่ถูกต้อง
กิจกรรมการพยาบาล
6.ดูแลความสุขสบายของผู้คลอด
7.ประเมินแรงเบ่งคลอด หากนานกวา่ 30 นาทีหรือ 1 ชั่วโมงรายงานแพทย์
5.กระตุ้นเชียร์เบ่ง เมื่อมดลูกหดรัดตัว
4.ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอทุกระยะของการคลอด
8.ผู้คลอดเเรงเบ่งน้อยดูแลให้ได้รับยาชาทางไขสันหลัง
9.ผู้คลอดที่ดิ้นไปมา เจ็บครรภม์ากๆ ควรอธิบายสาเหตุ บอกผลเสียของการดิ้นไปมา
3.ไม่สนับสนุนให้ผู้คลอดเบ่ง เมื่อปากมดลูกยังเปิดไม่หมด
10.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกทุก 5 - 15 นาที
2.สอนและสนับสนุนผู้คลอดบรรเทาอาการปวดด้วยเทคนิคต่างๆ
11.ผู้คลอดที่มีโรคประจำตัว แนะนำไม่ให้เบ่งแรงเกินไป และไม่กลั้นหายใจเบ่ง
1.สอนวิธีการเบ่งคลอดที่ถูกต้องตั้งแต่ไตรมาสที่ 3 ของการตั้งครรภ์ และทวนซ้ำเมื่อเข้าสู่ระยะคลอด
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
1.มีโอกาสเกิดระยะที่ 2ของการคลอดยาวนาน เนื่องจากการเบ่งคลอดไม่ถูกวิธี
2.มีโอกาสเกิดอันตรายจากการเบ่งคลอดไม่ถูกวิธี
Abnormality of primary power or force
มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ (Hypertonic uterine dysfunction)
2.มดลูกหดรัดตัวแบบไม่คลาย Tatanic contraction
ผลกระทบ
4.อาจเกิดมดลูกแตก อาจตกเลือดเสียชีวิตทั้งมารดาและทารก
5.ตอ้งไดร้ับการผา่คลอด เนื่องจาก CPD
3.ทารกในครรภ์อาจขาดออกซิเจน
2.อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า ขาดน้ำ ขาดสมดุลเกลือแร่ในร่างกาย
1.ผู้คลอดเจ็บครรภ์ตลอดเวลา
วินิจฉัยทางการพยาบาล
3.ผู้คลอดวิตกกังวลหรือกลัว เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
4.ผู้คลอดไม่สุขขสบาย เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
2.ผู้คลอดเสี่ยงต่อการเกดิภาวะมดลูกแตก เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
1.ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการเกิดภาวะขาดออกซิเจน เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่คลาย
การรักษา
หากพบ Bandl'ring ให้ C/S ป้องกันมดลูกแตก ตกเลือด เสียชีวิต
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์คลอด
2.ตรวจร่างกาย
5.ตรวจภายใน ไม่พบความก้าวหน้าของการคลอด อาจพบ Caput succedaneum
4.คลำพบเอ็นด้านข้างของมดลูก
3.ฟัง FHS ไม่พบ
2.พบรอยคอดคล้ายวงแหวน ต่ำกว่าระดับสะดือ
1.มดลูกหดรัดตัวรุนแรงและถี่
สาเหตุ
1.การคลอดติดขัด
2.การได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
กิจกรรมการพยาบาล
8.ให้สารน้ำเพียงพอตามแผนการรักษา
9.สนับสนุนการบรรเทาปวด จัดสถานที่เพื่อความผ่อนคลายและสงบ
7.ตรวจภายในดูความก้าวหน้าการคลอด
6.ประเมินเลือดออกทางช่องคลอด หรือภาวะ Hypovolumic shock
5.สังเกตอาการเตือนมดลูกใกล้จะแตก
10.สนับสนุนด้านจิตใจ อยู่เป็นเพื่อน
4.ประเมิน FHS ทุก 5 นาที
11.ให้ยาบรรเทาอาการปวด
3.จัดท่านอนตะแคงซ้าย และให้ออกซิเจน 8-10 LPM
2.หยุดให้ยากระตุ้นหดรัดตัวของมดลูก
12.ดูและให้กระเพาะปัสสาวะว่าง กระตุ้นทุก 2-3 hr
1.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ความถี่ ความนานลักษณะการหดรัดตัว
13.เตรียม C/S ในภาวะ fetal distress/ CPD / มดลูกจะแตก
3.การหดรัดตัวของมดลูกมากกว่าแบบไม่ประสานกัน
(In-coordinate uterine contraction
วินิจฉัยทางการพยาบาล
2.ผู้คลอดมีโอกาสเกิดภาวะฉุกเฉินเนื่่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน
3.ทารกในครรภ์อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน เนื่่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน
1.ผู้คลอดมีโอกาสเกิดการคลอดยาวนาน เนื่่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน และเจ็บครภค์ลอดยาวนาน
4.ผู้คลอดมีความวิตกกังวลและกลัว เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน
5.ผู้คลอดเหนื่อยและอ่อนเพลียจาการคลอดยาวนาน เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ประสานกัน
กิจกรรมการพยาบาล
2.จัดท่านอนตะแคงซ้าย และใหออกซิเจน 5 LPM
3.จัดสถานที่ให้สงบและส่วนตัว
1.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกบ่อยขึ้น ทั้งความถี่ ความนาน ความแรง ลักษณะการหดตัว ตำแหน่งการเริ่มหดรัดตัวและแรง
4.ประเมิน FHS ทุก 15-30 นาที หากผิดปกติรายงานแพทย์
5.สนับสนุนการบรรเทาความปวด
6.ให้ยาบรรเทาอาการปวดตามแผนการรักษา
7.ประคับประครองด้านจิตใจ
8.ดูแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
9.หากปฏิบัติมาข้างต้นไม่ดีขึ้น รายงานแพทย์เพื่อพิจารณาให้ยา oxytocin ในปริมาณที่น้อย
ผลกระทบ
3.เจ็บครรภ์คลอดมากกว่าปกติ เนื่่องจากหดตัวไม่คลาย
4.ทารกมีโอกาสขาดออกซิเจน
2.คลอดล่าช้าจากภาวะ Constriction ring
5.ผู้คลอดเหนื่อยเเละอ่อนเพลีย เนื่องจากเจ็บครรภ์มากและนาน
1.การเจ็บครรภ์คลอดยาวนาน
สาเหตุ
3.ผู้คลอดอายมุาก
4.ผู้คลอดมีการคลอด > 5 ครั้ง
2.ผู้คลอดครรภ์แรก
5.CPD
1.มีความวิตกกังวล
6.ทารกในครรภ์ท่าผิดปกติ
1.การหดรัดตัวมากผิดปกติเฉพาะกล้ามเนื้อมดลูก
การวินิจฉัย
1.ซักประวัติ เกี่ยวกับการเจ็บครรภ์คลอด
2.ตรวจร่างกาย
3.ฟัง FHS ไม่พบ เพราะมดลูกแข็งตลอด
2.ตรวจภายในโพรงมดลูกพบวงแหวน
1.มดลูกหดรัดตัวไม่สม่าเสมอ ขณะมดลูกหดรัดตัวทารกจะถูกดึงรั้งขึ้นด้านบน
การรักษา
2.ระยะคลอดรก หากมีเลือดออกมากให้ใช้ยาสลบ แล้วทำการล้วงรก
3.ระยะเบ่งให้ยาปวด เพื่อให้วงแหวนคลายตัว แล้ว้ใช้คีมในการช่วยคลอด
การคลอดติดขัด
1.ให้ยาระงับปวด หากพบภาวะ Fetal distress ให้เตรียมผ่าคลอด วงแหวนจะคลายเมื่อได้รับยาสลบ
ผลกระทบ
4.ปากมดลูกอาจปิดในระยะที่ 3 ของการคลอด รกค้าง ตกเลือดหลังคลอด
3.เกิดการคลอดติดขัด อาจต้องผ่าคลอด
2.มารดาและทารกอยู่ในภาวะฉุกเฉิน
1.ผู้คลอดเจ็บครรภ์คลอดมาก
วินิจฉัยทางการพยาบาล
4.ผู้คลอดมีความวิตกกังวลและกลัว เนื่องจากการคลอดติดขัด
5.ผู้คลอดอ่อนเพลียจากการคลอดยาวนาน เนื่องจากการคลอดเกิดการติดขัด
3.ทารกในครรภ์มีโอกาสเกิดภาวะขาดออกซิเจนเนื่องจากากรคลอดติดขัด
2.ผู้คลอดมีโอกาสเกิดภาวะฉุกเฉิน เนื่องจาการคลอดติดขัด
1.ผู้คลอดอาจเกิดการคลอดติดขัด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวมากจนเกิด เป็นรอยคอดคล้ายวงแหวนระหว่างกล้ามเนื้อมดลุกส่วนบนและส่วนล่าง มองเห็นได้ต่ำกวา่ระดับสะดือเล็กน้อย (bandl's ring)
สาเหตุ
5.การล้วงรก
6.หลังเด็กแฝดคนแรกคลอด
3.internal version
4.ถุงน้ำคร่ำแตกเป็นเวลานาน
2.Oligohydramnios
1.การได้รัยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
กิจกรรมการพยาบาล
5.ให้ยาบรรเทาปวดตามแผนการรักษา
6.ประคับประครองด้านจิตใจ อธิบายแนวการรักษา
4.ดูแลความสุขสบาย และสอนบรรเทาความปวด
7.ดุแลให้ได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
3.ประเมิน FHS บ่อยขึ้น ทุก 15 นาที
8.เตรียมผ่าคลอดหากเกิดในระยะที่มดลูกยังเปิดไม่หมด
2.หยุดยากระตุ้นการหดรัดตัวมดลูกในรายที่ได้รับ
9.หากเกิดในระยะที่ 2 รายงานแพทย์เพื่อให้ยาสลบ และช่วยคลอดด้วยคีม
1.ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ทุก 30 นาที ถึง 1 ชั่วโมง
10.ในระยะที่ 3 ของการคลอด หากไม่มีเลือดออกให้รอใน 30 นาที หากมีเลือดออกมากรายงานแพทย์ให้ยาสลบทำการล้วงรก
Bandl's ring
Constriction ring
ความหมาย
ความผิดปกติของการหดรัดตัวของมดลูก
2.มดลูกหดรัดตัวมากกว่าปกติ
3.การหดรัดตัวผิดปกติเฉพาะที่กล้ามเนื้อมดลูก
1.มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ (Hypotonic uterine dysfunction)
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ เกี่ยวกับกาารตั้งครรภ์แฝด การคลอดทารกตัวโตกว่าปกติ ระยะเวลาการเจ็บครรภ์
2.การตรวจร่างกาย การตรวจการหดรัดตัวของมดลูก การตรวจภายใน ดูขนาดปากมดลูกและส่วนนำ
การรักษา
1.กระตุ้นให้ยา Oxyocin 5-10 unit ใน Ringer's lactase solution / 5%D/W 1000 ml.
2.ให้ยาระงับปวดขนาดและเวลาที่เหมาะสม
3.เจาะถุงน้ำคร่ำในรายที่ยังไม่แตกหรือรั่ว เพื่อกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
4.ประเมินแล้วไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ เตรียมผ่าคลอด
ผลกระทบ
2.มีโอกาสตกเลือดหลังคลอด
3.อาจเกิดถุงน้ำหรือเยื่อหุ้มทารกอักเสบ
4.มีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย มดลูกหดรัดตัวไม่ดี เกิดการคลอดยาวนาน
5.ทารกมีโอกาสขาดออกซิเจน เนื่องจากการคลอดยาวนาน
1.เกิดการคลอดล่าช้า ในระยะที่ 1 และ 2 ของการคลอด
วินิจฉัยทางการพยาบาล
1.ผู้คลอดเสี่ยงต่อการคลอดยาวนาน เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
2.ทารกในครรภ์เสี่ยงต่อการขาดออกซิเจน เนื่องจากการคลอดยาวนาน
3.ผู้คลอดเสี่ยงต่อการตกเลือดและการติดเชื้อหลังการคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
4.ผู้คลอดและทารกมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยากระตุ้นมดลูก
สาเหตุ
1.กล้ามเนื้อมดลูกหดรัดตัวผิดปกติ
2.มดลูกมีเนื้องอก หรือมีถุงน้ำที่รังไข่
1.มดลูกมีการขยายผิดปกติ เช่น ครรภ์แฝด ทารกตัวโต
2.ขาดการกระตุ้น Ferguson's reflex
1.ทารกอยู่ในท่าและส่วนนำผิดปกติ
2.Cephalopelvisdisproportion : CPD
3.ช่องเชิงกรานแคบ contracted pelvis
4.ทารกตัวเล็ก กระเพาะปัสสาวะเต็ม หรือลำไส้ใหญ่ส่วนปลายเต็ม
3.ปัจจัยอื่น ๆ
1.ได้รับยาระงับปวดก่อนปากมดลูกเปิด 3-4 cm หรือได้รับมากเกินไป
2.การเจ็บครรภ์คลอดเป็นเวลานาน
3.มีอาการเหนื่อย อ่อนเพลีย ขาดสารน้ำและสารอาหาร
4.สาเหตุด้านจิตใจ เช่น ความเครียด ความวิกตกกังวล
กิจกรรมการพยาบาล
7.ประเมินสภาพช่องเชิงกราน เพื่อป้องกันภาวะ CPD
8.ดูแลให้สารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ เช่นอาหารเหลว ในระยะมดลูกเปิดช้า
6.ตรวจภายใน ดูขนาดการขยายของปากมดลูกและส่วนนำ
9.ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ เมื่อเข้าสู่ระยะมดลูกเปิดเร็ว
5.ดูแลเจาะถุงน้ำคร่ำ
10.สอนวิธ๊บรรเทาปวด
4.ดูแลให้ยากระตุ้นมดลูกหดรัดตัว
11.อธิบายการดำเนินการและคลอด และแผนการรักษา
3.สวนอุจจาระในระยะปากมดลูกเปิดเร็ว และสวนซ้ำเมื่อครบ 12 hr. หากคลอดยาวนาน
12.ประเมิน FHS และประเมินเตรียมให้ออกซิเจนหาก FHS ผิดปกติ
2.กระตุ้นให้ลุกเดิน หรือนอนตะแคง ท่าศีรษะสูง
13.ประเมินสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
1.ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง
14.ดูแลให้ยาระงับปวดตามแผนการรักษา
15.เตรียมอุปกรณ์กู้ชีพทารก
16.ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกหลังคลอด
น.ส.กนกวรรณ กันสืบสาย เลขที่ 1 รหัส 601401001