Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การระบายเสมหะในเด็ก 👶🏻, : - Coggle Diagram
การระบายเสมหะในเด็ก 👶🏻
-
การระบายน้ำมูกและเสมหะ
ดูดเสมหะทางจมูกและปาก
-
หลักปฏิบัติ
-
-
3) ปรับแรงดูดของเครื่องดูดเสมหะ โดยในทารกใช้ความดัน 60-80 mmHg เด็กเด็กใช้ความดัน 80-120 mmHg ส่วนเด็กโตใช้ความดัน 120-150 mmHg
-
-
6) สอดสายดูดเสมหะเข้าทางปากหรือจมูกให้ถึงบริเวณคอหอยหลังโพรงจมูกอย่างนุ่มนวล ให้ทำการดูดเสมหะในคอและปากออกให้หมด โดยขณะดูดให้ค่อยๆ ขยับสายขึ้น-ลงอย่างช้าๆ และนุ่มนวล ซึ่งระยะวลาในการคูดแต่ละครั้งไม่ควรเกิน 10 วินาที
ระบายน้ำมูกในโพรงจมูก
การดูดด้วยลูกยางแดง
-
หากเด็กไม่ให้ความร่วมมือ ดิ้นมาก ให้ใช้ผ้าห่อตัเด็ก จัดท่าศรีษะสูง ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง เพื่อป้องกันการสำลัก
บีบลูกยางแดงจนสุด สอดปลายเข้ารูจมูก ลึก 1-1.5 cm ค่อยๆปล่อยมือที่บีบออกช้าๆ น้ำมูกจะถูกดูดเข้าลุกยางแดง จากนั้นบีบทิ้งภาชนะที่เตรียมไว้ ทำซ่ำจนกว่าน้ำมูกจะหมด
การล้างจมูก
-
ใช้กระบอกฉีดยาดูด NSS แล้วจัดท่าก้มหน้าเล็กน้อย แล้วกลั้นหายใจ แล้วสอดปลายกระบอกฉีดเข้าไปในรูจมูกข้างที่จะล้าง ฉีด NSS เข้าไปจน NSS และน้ำมูกไหลออกทางปากหรือทางรูจมูกอีกข้างแล้วให้สั้งน้ำมูกออก 2 ข้างเบาๆ ทำซ้ำอีกข้าง
วิธีนี้ในผู้ป่วยต้องคำนึงถึงอายุ ความรุนแรงของการอุดตันของรูจมูก ความเหนียวของน้ำมูก ปริมาณน้ำมูก เป็นต้น และที่สำคัญที่สุด ถือ กวามร่วมมือของเด็กและการยอมรับของผู้ปกครอง
-
-
-
-
-
-
-
-
-