Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Nightingale’s Environmental Theory, flnightin, FlorNight1, Florence…
Nightingale’s Environmental Theory
ทฤษฎีการพยาบาลเชิงนิเวศน์นิยม (Environmental
oriented)
เป็นทฤษฎีการ
พยาบาลแรก
ประวัติของมิสฟลอเรนซ์ไนติงเกล
เป็นผู้นำคนแรกของการพยาบาล
ครอบครัวเป็นคนชั้นกลางค่อนข้างสูง
ท่านต้องการทำประโยชน์ให้แก่เพื่อนมนุษย์ให้มากที่สุด
ดังบันทึกที่เขียนไว้เมื่อปี 1837
ในปี 1851 ท่านมี อุดมการณ์ และความมุ่งมั่นในการ
เป็นพยาบาล
ขณะเกิดสงครามไครเมีย ในปีค.ศ.
1857
ท่านได้อาสาพยาบาล ไปช่วย
ดูแลทหารที่เจ็บป่วยในแนวรบ
ปรับปรุงแก้ไขสภาพของทหาร
ที่แต่งกายสกปรก
ความขาดแคลนน้ า และสภาพของ
โรงพยาบาลที่สกปรกและแออัด
สถิติการตายของทหารลดลง
จนได้รับสมญานามว่า
“The Lady of The Lamp
ท่านให้ความสำคัญต่อสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อสุขภาพ และความ เจ็บป่วยเป็นอย่างมาก
การพัฒนาทฤษฎีการพยาบาลของไนติงเกล
ความสัมพันธ์ของมนุษย์ กับ สิ่งแวดล้อม
สมัยไนติงเกล ยังไม่มีการ
ค้นพบทฤษฎีจุลชีพ(Germ’s theory)
การใช้เหตุใช้ผล และ
สามัญส านึก(Common sense)
สามารถทำหน้าที่เป็นเนื้อหาร่วมไปกับการใช้กระบวน
การพยาบาล เพื่อคุณภาพการรักษาพยาบาล
มโนมติที่สำคัญ
.สิ่งแวดล้อม
แรงผลักภายนอกที่มีผล
โดยตรงต่อชีวิตและพัฒนาการของบุคคล
สิ่งแวดล้อมใกล้ตัว
อากาศบริสุทธิ์
น้ าบริสุทธิ์
ระบบขจัดน้ าโสโครกที่มีประสิทธิภาพ
ความสะอาด
การได้รับแสงสว่างอย่างเพียงพอ
ภาวะสุขภาพและมนุษย์
มนุษย์
ผู้ป่วยมีศักยภาพการซ่อมแซมสุขภาพเมื่อเกิดการเจ็บป่วย
ภาวะสุขภาพ
ดำรงภาวะสุขภาพด้วยพลังอำนาจของบุคคล
มุ่งเน้นที่สุขภาพ และการ เจ็บไข้เป็นสำคัญ
การมองมนุษย์มี 2 ลักษณะ
กลุ่มที่เป็นโรค
กลุ่มที่ไม่เป็นโรค
ภาวะสุขภาพและมนุษย์ แยกออกจากกันไม่ได้
การพยาบาล
สิ่งแวดล้อมย่อมมีอิทธิต่อสุขภาพ
การพยาบาลจะมุ่งเน้นที่บุคคล
ส าคัญที่สุด คือ การจัดสิ่งแวดล้อมของผู้ป่วยให้สะอาด เงียบ
สงบ มีความอบอุ่น มีแสงสว่างอย่างเพียงพอ
เยียวยาโดยธรรมชาติ
โดยไนติงเกลมีความเชื่อว่า ธรรมชาติเท่านั้นเป็นผู้รักษาเยียวยา แพทย์ทำหน้าที่ตัด
แขน ขา อวัยวะที่เป็นปัญหาหรือสูญเสียหน้าที่เท่านั้น ไม่ได้ท าหน้าที่เป็นผู้เยี่ยวยา
จุดเน้นของทฤษฎี
มีอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อม เป็นตัวกำากับ การ
พยาบาล
การประยุกต์ทฤษฎีกับกระบวนการพยาบาล
หลักที่ใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล
การสังเกตอย่างถี่ถ้วน
มีเหตุมีผล ( Sound observation )
การใช้สามัญส านึก ( Common sense )
ขั้นตอนของกระบวนการพยาบาลตามทฤษฎีของไนติงเกล
1.ขั้นตอนการประเมินผล
การสังเกต
การจัดกลุ่มข้อมูล
อาหารและเครื่องดื่ม
ระดับความวิตกกังวล หรือความตื่นตัว
ผลของความเจ็บป่วยต่อภาวะจิตใจ
2.ขั้นตอนวินิจฉัยทางการพยาบาล
เน้นที่ความต้องการของผู้ป่วย
ตัวอย่างผู้ป่วยต้องการความอบอุ่น การถ่ายเทอากาศ การพักผ่อนนอนหลับ และ
อาหารอย่างเพียงพอ เหมาะสม
3.ขั้นตอนการวางแผนการพยาบาล
ยึดหลักการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง
สิ่งแวดล้อม และการสื่อสารกับผู้ป่วย
พยายามลดสิ่งรบกวนที่จะท าให้ผู้ป่วยตื่น
พยายามลดเครื่องดื่ม เช่น กาแฟ
4.ขั้นตอนการปฏิบัติการพยาบาล
ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการพยาบาล
จัดหาอาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วย
ปรึกษาหารือกับครอบครัว ญาติผู้ป่วย
5.ขั้นตอนการประเมินผล
ใช้หลักการสังเกต ประเมินผลจากผลที่
เกิดขึ้น ในตัวผู้ป่วย