Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์กรวิชาชีพการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล - Coggle…
องค์กรวิชาชีพการพยาบาลและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาล
ความหมาย
องค์การ (Organization )
ศูนย์รวมกลุ่มบุคคลหรือ กิจการ ที่ประกอบขึ้นเป็นหน่วยงาน
เดียวกันเพื่อ ดำเนินกิจการการตามวัตถุประสงค์ที่
กำหนดไว้ในกฎหมาย”
องค์การวิชาชีพยาบาลเป็นหน่วยงานที่เป็นศูนย์กลางของ
กิจการเกี่ยวกับวิชาชีพการพยาบาล
องค์กร (Organ)
บุคคล คณะบุคคลหรือสถาบันซึ่งเป็นส่วนประกอบของหน่วยงานใหญ่ที่ทำหน้าที่สัมพันธ์กันหรือขึ้นต่อกัน
องค์กรวิชาชีพทางการพยาบาลก็มุ้งเน้นไปที่กลุ่มบุคคลที่ปฏิบัติงานและ
สมาชิกเป็นส่วนประกอบที่สำคัญในองค์การ ปัจจุบันมีกลุ่มการรวมตัวกันของพยาบาลทั้งในระดับนานาชาติ
ระดับชาติ ระดับระหว่างสถาบัน และระดับสถาบัน
องค์กรวิชาชีพพยาบาลภายในประเทศไทย
สมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
(The Nurses’ Association of Thailand Under the Royal Patronage of Her Royal Highness the Princess Mother [NAT])
ความสำคัญ
เป็นศูนย์รวมความคิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ เป็นตัวแทนในการสร้างเครือข่ายองค์กรวิชาชีพ
ส่งเสริมความสามัคคี และส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าของวิชาชีพ
เสริมสร้างความเป็นธรรมเพื่อช่วยป้องกันและแก้ไขปัญหา อันเป็นอุปสรรคต่อความเจริญทางวิชาชีพ
ช่วยเหลือในการสร้างเสริมสุขภาพอนามัยและความเป็นอยู่
อันดีของสังคม
บทบาทหน้าที่
พัฒนาคุณภาพมาตรฐานทางวิชาชีพพยาบาลทั้ง 4 ด้าน
พัฒนาคุณภาพการปฏิบัติวิชาชีพอย่างมีจริยธรรม ส่งเสริม สร้างแรงจูงใจและมีแหล่งให้การปรึกษา
พัฒนาระบบบริการและบริหารจัดการโดยการสร้างองค์ความรู้
ร่วมกับเครือข่ายวิชาชีพ
พัฒนาระบบสวัสดิการ และกิจกรรมทางวิชาชีพโดยพิทักษ์
สิทธิประโยชน์ที่สมาชิกพึงได้รับ
สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรวิชาชีพทั้งในระดับชาติ
และนานาชาติ
เป็นศูนย์รวมของผู้ประกอบวิชาชีพให้เกิดความสามัคคีและ
เป็นที่ยอมรับในสังคมและนานาชาติ
สร้างเสริมความเข้มแข็งของสมาคม
พยาบาลฯ
สภาการพยาบาล (Thailand Nursing and Midwifery Council)
ความสำคัญ
ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพ ให้ถูกต้องตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
ส่งเสริมการศึกษา การบริการ การวิจัยและในวิชาชีพการพยาบาล
พัฒนาคุณภาพ และมาตรฐานของวิชาชีพ ทั้งด้านการศึกษา การบริการ และการวิจัย
ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของ
สมาชิก
ช่วยเหลือแนะนำเผยแพร่และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอื่นในเรื่องที่เกี่ยวกับการพยาบาลการผดุงครรภ์ และการสาธารณสุข
ให้คำปรึกษา หรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับ ปัญหาการพยาบาล การผดุงครรภ์และการสาธารณสุข
เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพใน
ประเทศไทย
ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่
สมาชิก
อํานาจหน้าที่แก่องค์กร
รับขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผู้ขอเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
การพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์
สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
การพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์
ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการ
ผดุงครรภ์ในระดับอุดมศึกษาของ
สถาบันการศึกษา จะทาการสอนวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์เพื่อเสนอต่อทบวงมหาวิทยาลัย
รับรองหลักสูตรต่าง ๆ สาหรับการศึกษาในระดับ
ประกาศนียบัตรของสถาบันที่จะทาการสอนวิชาชีพ
การพยาบาลและการผดุงครรภ์
รับรองหลักสูตรต่าง ๆ สาหรับการฝึกอบรมในวิชาชีพการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์ สถาบันการศึกษา
ที่จะทําการฝึกอบรมในวิชาชีพการพยาบาลและการ
ผดุงครรภ์
รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญา
ประกาศนียบัตรหรือวุฒิบัตรในวิชาชีพการพยาบาล
และการผดุงครรภ์ของสถาบันต่าง ๆ
ออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้หรือ
ความชานาญ เฉพาะทางและหนังสือแสดงวุฒิอื่นใน
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ให้แก่ผู้ประกอบ
วิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาล
และการผดุงครรภ์
ดําเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภา
การพยาบาล
สมาคมพยาบาลเกียรติคุณแห่งประเทศไทย (Thail and Nursing Honor Society at-Large)
ความสำคัญ
ประกาศเกียรติคุณของผู้นำทางด้านวิชาการและวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ของประเทศไทยให้
ทราบทั่วกัน
ยกระดับมาตรฐานวิชาชีพสู่
นานาชาติ
ส่งเสริมการสร้างผลงานที่
สร้างสรรค์
สร้างเสริมความตั้งใจที่จะพัฒนาความ
เข้มแข็งของวิชาชีพ
อํานาจหน้าที่แก่องค์กร
ส่งเสริมการพัฒนาวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์และเปิด
โอกาสให้พยาบาลในประเทศได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน
เรียนรู้และสร้างเครือข่ายกับผู้นำทางการพยาบาล
และนักศึกษาที่มีผลการเรียนดีเด่นทั่วโลกใน
ประเทศไทยได้เคยการพยายามจัดตั้ง The
Thailand Nursing Honor Society
สมาคมบริหารการพยาบาล (Nursing Administration Association [NAA])
ความสำคัญ
เป็นศูนย์รวมขององค์ความรู้ด้านบริหาร
การพยาบาล
ส่งเสริม พัฒนาและเผยแพร่ความรู้ด้านบริหาร
การพยาบาล
ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ในการจัดกิจกรรมด้านบริหาร
การพยาบาล
สนับสนุนด้านบริการวิชาการ การศึกษาและการวิจัยที่
เกี่ยวข้องกบัการบริหารการพยาบาล
สร้างเครือข่ายกับหน่วยงานทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ
ส่งเสริมจริยธรรมในการบริหาร
การพยาบาล
รวมพลังและสร้างเสริมความสามัคคีในกลุ่ม
บริหารการพยาบาล
องค์กรวิชาชีพพยาบาลในต่างประเทศ
สหพันธ์การพยาบาลแห่งชาติ (National Leaque for Nursing หรือ NLN)
ก่อตั้งใน ปี พ ศ 2494
เพื่อส่งเสริมมาตรฐานและนวัตกรรมใน
การศึกษาการพยาบาล
บทบาท
และ
หน้าที่
ประเมินความต้องการพยาบาล
ของประชาชน
สนับสนุนการบริการเพื่อพัฒนาการศึกษาพยาบาล โดยการ
รับรองสถาบันการจัดการศึกษาต่อเนื่อง
การประเมินผล การให้ข้อมูล การวิจัย
วัตถุประสงค์
อธิบายความหมาย หน้าที่ และความสำคัญขององค์กรวิชาชีพ
พยาบาล
อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรวิชาชีพพยาบาลและ
วิชาชีพพยาบาล
วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาองค์กรวิชาชีพ
พยาบาล
วิเคราะห์แนวทางการพัฒนาองค์กรวิชาชีพ
พยาบาล
วิเคราะห์แนวโน้มการพัฒนาองค์กรวิชาชีพพยาบาล
ในอนาคต
วิเคราะห์แนวทางการส่งเสริมเจตคติที่ดีต่อองค์กรวิชาชีพ
พยาบาลเพื่อส่งเสริมมาตรฐานและนวัตกรรมในการ
ศึกษาการพยาบาล
สมาคมพยาบาลแห่งประเทศอเมริกา
(American Nurses’ Association หรือ ANA )
กำหนดนโยบายและกฎหมายในประเด็นการดูแลสุขภาพ และการพยาบาล กำหนดมาตรฐานของวิชาชีพพยาบาล
และตีพิมพ์ “จรรยาบรรณสำหรับพยาบาล”
(Code of Ethics for Nurses)
หน้าที่ของ
องค์กร
สนับสนุนการปฏิบัติงานพยาบาลที่มี
มาตรฐานสูง
การส่งเสริมสภาพแวดล้อมการทำงานที่ปลอดภัย
และมีจริยธรรม
สนับสนุนสุขภาพและความเป็นอยู่ที่ดี
ของพยาบาล
ให้การสนับสนุนปัญหาสุขภาพที่ส่งผลกระทบต่อพยาบาล
และประชาชน เนื่องจาก ANA แสดงให้เห็นถึง
ความสนใจของพยาบาลวิชาชีพทั้งหมด และ
สนับสนุนให้พยาบาลบรรลุศักยภาพสูงสุด และ
สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
สภาการพยาบาลสากล
(International Council of Nurses: ICN)
วัตถุประสงค์
เป็นองค์กรแรกและใหญ่ที่สุดในการรวมองค์กรระหว่าง
ประเทศเพื่อให้เกิดการพัฒนาด้านสุขภาพดำเนินการ
โดยพยาบาลชั้นนำในระดับสากล
บทบาทหน้าที่ของ
สภาการพยาบาล
จัดทำข้อมูลที่เกี่ยวข้องและทันเวลาเกี่ยวกับการปฏิบัติ
การศึกษาการพัฒนาบทบาทการวิจัยนโยบายและ
การพัฒนากฎระเบียบและกิจกรรมที่เหมาะสม
ที่มีอยู่อย่างกว้างขวาง
จัดที่ประชุมสำหรับการอภิปรายสำหรับแลกเปลี่ยนและ
แลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
สนับสนุนพยาบาลและประเทศที่อยู่ในกระบวนการของ
การแนะนำหรือพัฒนา NP หรือ ANP บทบาท
และการปฏิบัติ
การเข้าถึงทรัพยากรระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง
กับสาขานี้
แนวโน้มการพัฒนาองค์กรวิชาชีพพยาบาลในอนาคต
มีนโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้องกับพยาบาลมากขึ้น
มีจำนวนบุคคลากรมากขึ้น และบุคคลากรมีคุณภาพมากขึ้น
มีระบบบริการพยาบาลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยมากขึ้น
มีความเข้มแข็งทางวิชาการและการวิจัยมีมาตรฐาน
พยาบาลได้รับการคุ้มครองและบผลตอบแทนเหมาะสมกับภาระงานมากขึ้น
มีการประสานงานร่วมมือกับองค์กรภายนอกมากขึ้น
แน
วทางการพัฒนาองค์กร
วิชาชีพพยาบาล
นโยบายของรัฐ
ลักษณะวิสัยทัศน์ของผู้นำ
พัฒนาการบริหารจัดการภายใน
พัฒนามาตรฐานคุณภาพการบริการ
พัฒนาและส่งเสริมการศึกษาและการวิจัย
พัฒนาภาพลักษณ์และทัศนคติต่อองค์กรวิชาชีพ
แนวทางการส่งเสริมเจตคติที่ดีต่อ
องค์กรวิชาชีพพยาบาล
เสริมสร้างพลังอำนาจให้แก่บุคลากร
พัฒนาวัฒนธรรมองค์กร
ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีขององค์กร
ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรวิชาชีพ
การพยาบาลและองค์กรอื่นที่เกี่ยวข้อง
เพื่อให้ผลงานออกมาประสบความสำเร็จและมีประสิทธิภาพ น่าเชื่อถือ เป็นที่ยอมรับจึงต้องมีการติดต่อสื่อสารระหว่างองค์กร
ตัวอย่าง
การประชุมและรับฟังคำชี้แจงเกณฑ์การรับรองสถาบันการศึกษาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ ศ ๒๕๖๐
สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก
สังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติสังกัดกรุงเทพมหานคร
สังกัดกระทรวงกลาโหม
ผู้บริหาร/ผู้รับผิดชอบของสถาบันการศึกษา
สถาบันการศึกษาพยาบาลเอกชนที่สภาการพยาบาลรับรอง
ปัจจัยที่มีผลต่อการ
พัฒนาวิชาชีพการพยาบาล
นโยบายและเป้าหมายขององค์กร
ลักษณะ ความสนใจ และความสามารถของบุคลากร
เจตคติของบุคคลากรต่อวิชาชีพ
การเปลี่ยนแปลงความต้องการบริการสุขภาพของประชาชน
การเปลี่ยนแปลงสภาพสังคม