Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ข้อมูลเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค เด็กชายวายุ อายุ 5 เดือน, ถ้า, คือ, เกิดจาก,…
ข้อมูลเกี่ยวกับการวินิจฉัยโรค เด็กชายวายุ อายุ 5 เดือน
viral croup
การอักเสบเฉียบพลันบริเวณกล่องเสียง
และหลอดลมใหญ่ พบบ่อยในเด็กอายุ
6 เดือน – 3 ปี
สาเหตุ
เชื้อไวรัส ที่พบบ่อย ได้แก่ parainfluenza virus type 1, 2, 3 และ influenza virus A, B, respiratory syncytial virus และ measles
การประเมินความรุนแรงของ Croup
4 ระดับ โดยไม่ต้องคำนวณออกมาเป็น score
ระดับความรุนแรงน้อย (mild croup)
ผู้ป่วยยังคงกินอาหารได้ตามปกติ เล่นได้ มีความสนใจต่อบุคคลและ
สิ่งแวดล้อม อาการแสดง มีเพียงไอเสียงก้องบางครั้ง ได้ยินเสียง stridor ขณะร้องหรือดูดนม ไม่ได้ยินเสียง stridor ขณะพัก ไม่มีหายใจอกบุ๋มบริเวณ suprasternal หรือ intercostal space
ระดับความรุนแรงปานกลาง (moderate croup)
มีไอเสียงก้องเกือบตลอดเวลา ขณะหายใจเข้ามีเสียง stridor หายใจอกบุ๋ม ไม่มีอาการกระสับกระส่ายหรือมีเล็กน้อย
ระดับความความรุนแรงมาก (severe croup)
ไอเสียงก้องเกือบตลอดเวลา ขณะหายใจเข้ามีเสียง stridor ชัดเจน บางครั้งได้ยินเสียงขณะหายใจออกร่วมด้วย หายใจอกบุ๋มมากมีอาการกระสับกระส่ายชัดเจนหรือซึมลง
ผู้ป่วยกำลังจะเกิดภาวะหายใจล้มเหลว
(impending respiratory failure)
ไอเสียงก้อง หายใจมีเสียง stridor ขณะพัก บางครั้งก็ไม่ได้ยินหายใจ อกบุ๋มมาก การเคลื่อนไหวของทรวงอกไม่สัมพันธ์กับท้อง (asynchronous chest wall and abdominal movement) อ่อนเพลีย มีอาการของภาวะพร่องออกซิเจน (สีผิวดูซีด หรือเขียว) ระดับความรู้สึกตัวลดลง พักหลับได้ช่วงสั้นๆ ไม่สนใจต่อบุคคลและสิ่งแวดล้อม
ระดับความรุนแรงของโรคตาม croup score
ออกเป็น 3 ระดับ
croup score < 4 ระดับความรุนแรงน้อย (mild croup)
croup score 4-7 ระดับความรุนแรงปานกลาง (moderate croup)
croup score > 7 ระดับความรุนแรงมาก (severe croup)
อาการและอาการแสดง
มักมีอาการหวัดนํามาก่อน หลังจากนั้น 1-3 วัน การอักเสบจะลุกลามลงไปยังส่วนของกล่องเสียง และบริเวณ subglottic
ทำให้
เกิดการบวม และการอุดกั้นทางเดินหายใจ ผู้ป่วยจะมีอาการหายใจลําบาก หายใจเสียงดัง (stridor) เสียง stridor จะได้ยินชัดเจนเวลาหายใจเข้า ไอเสียงก้อง (barking cough) เสียงแหบแห้ง
ภาพรังสีคอด้านตรง
พบการตีบแคบของบริเวณ subglottic
ปลายดินสอแหลม (steeple sign)
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะพร่องออกซิเจน
ภาวะหายใจล้มเหลว ปอดบวมน้ำ
พยาธิสภาพ
การติดเชื้อในระบบทางเดิน
หายใจส่วนต้นและกล่องเสียง
เกิดการอักเสบและบวมของทางเดินหายใจ
มีสิ่งคัดหลั่ง มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
เกิดการอุดกั้นทางเดินหายใจ
ส่วนใหญ่พบบริเวณฝาปิดกล่องเสียง(subglottis)
เป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิด
ภาวะหายใจล้มเหลวในเด็ก
ส่วนใหญ่พบในชายมากกว่าหญิง ช่วงอายุ
3 เดือน ถึง 4 ปี และพบมากที่สุดเมื่ออายุ 18 เดือน
ปัญหาการพยาบาล
มีภาวะทุพโภชนาการ เนื่องจากได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ขณะอยู่บ้าน บิดาบอกว่า "ผู้ป่วยดื่มนมผง วันละ 6 ครั้ง ครั้งละ 2 ออนซ์ รับประทาน cerelac เช้าเย็น ครั้งละ1/2 ถ้วย"
OD : น้ำหนัก 4 กิโลกรัม (น้ำหนักที่ควรจะเป็น เท่ากับ 6.5 กก.
คำนวณระดับความรุนแรงของการขาดสารอาหารได้ 61.53 %
มีภาวะทุพโภชนาการระดับปานกลาง
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการขาดสารอาหารอย่างรุนแรง
ประเมินประวัติการรับประทานอาหารทั้งปริมาณและคุณภาพรวมทั้งคำนวณพลังงานอาหารที่ผู้ป่วยควรได้รับ เพื่อวางแผนประเมินกิจกรรมพยาบาลที่เหมาะสม
ให้ความรู้ คำแนะนำ เกี่ยวกับปริมาณอาหารที่ผู้ป่วยต้องได้รับในแต่ละวัน เพื่อให้ผู้ปกครองดูแลอย่างถูกวิธี
ดูแลให้ยาวิตามินรวมและธาตุเหล็กอย่างครบถ้วน
วัตถุประสงค์
เพื่อให้ได้รับอาหารเพียงพอ
ผู้ป่วยไม่มีภาวะขาดสารอาหาร
ขาดประสิทธิภาพในการทำทางเดินหายใจให้โล่ง
เนื่องจากมีภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
วัตถุประสงค์
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะทางเดินหายใจส่วนบน
จัดกิจกรรมรบกวนผู้ป่วยน้อยที่สุด ถ้าผู้ป่วยมีอาการกระวนกระวาย พักไม่ได้ หรือร้องไห้ รีบปลอบให้หยุด เพราะขณะที่ผู้ป่วยร้องไห้หรือดิ้น ภาวะอุดกั้นทางเดินหายใจจะรุนแรงมากขึ้น
กรณีผู้ป่วยได้รับออกซิเจน ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา ติดตามค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
ให้ความรู้ผู้ปกครองเกี่ยวกับโรคและการดูแลขณะอยู่โรงพยาบาลและที่บ้าน
ดูแลด้านจิตใจเด็กและครอบครัว เพื่อลดความวิตกกังวล
ข้อมูลสนับสนุน
SD : -
OD : หายใจหอบเหนื่อย on HHHFNC 8 LMP Fio2 0.4
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมให้ร่างกายได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
และป้องกันการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ข้อมูลสนับสนุน
SD : -
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
OD : WBC = 12,800 cell/mm^3
Baso = 0.4 %
กิจกรรมการพยาบาล
วัด V/S q 4 hr. เพื่อประเมินออาการภาวะติดเชื้อ
ให้การพยาบาลในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยหลัก Aseptic technique
ดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัวผู้ป่วย
พลิกตะแคงตัวทุก 2 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ คือ
ค่า WBC อยู่ระหว่าง 4,500-10,000 cell/mm^3
ค่า Baso อยู่ระหว่าง 0.5-1.0 %
วัตถุประสงค์
ลดการติดเชื้อในร่างกาย
และป้องกันการแพร่เชื้อของโรค
ผู้ปกครองมีความวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของบุตร เนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วย
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ปกครองบอกว่า "กังวลอยากให้ลูกอาการดีขึ้น เพราะถ้าอาการแย่ลง กลัวว่าจะได้ใส่ท่อ"
OD : -
กิจกรรมการพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพกับบิดา มารดา ด้วยท่าทางที่เป็นมิตร เปิดโอกาสให้บิดา มารดา ได้สอบถาม ระบายความรู้สึก คอยตอบคำถามที่คับข้องใจและแสดงการให้กำลังใจ
ประเมินการรับรู้ของบิดามารดา ให้ข้อมูล / คำแนะนำเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของทารก
อธิบายความจำเป็นของการรักษาพยาบาล พร้อมเหตุผลตามความเหมาะสม
เปิดโอกาสให้บิดา มารดา เข้าเยี่ยม หรือดูแลทารก
5.ให้การดูแลประคบประคองด้านจิตใจและอารมณ์ตามความเหมาะสม
จัดให้บิดา มารดา ได้พูดคุยกับแพทย์ เพื่อรับทราบรายละเอียดของการรักษา
ส่งเสริมให้บิดา มารดา มีส่วนร่วม ให้คำแนะนำ ฝึกทกษะบิดา มารดา ในการดูแลทารก และสังเกตอาการผิดปกติ แนวทางการช่วยเหลือทั้งขณะอยู่โรงพยาบาล และเมื่อกลบบ้าน
วางแผนจำหน่ายและคำแนะนำก่อนกลับบ้านตามรูปแบบ D M-E-T-H-O-D
วัตถุประสงค์
ลดความกังวลของบิดา มารดา
การวินิจฉัย
จากการซักประวัติ
การตรวจร่างกาย อาจตรวจพบว่า
คอหอยปกติหรือมีการอักเสบ
การถ่ายภาพรังสีที่คอในท่า posterior-anterior พบ
ลักษณะที่เรียนกว่า “classic steeple sign”
“pencil sign” คือมีการตีบแคบบริเวณกล่องเสียง
การรักษา
ในรายที่อาการไม่รุนแรงไม่จำเป็นต้องนอนโรงพยาบาล โดยดูจากเสียง stridor ขณะพักและให้การรักษาดังนี
ให้ยารักษาตามอาการ
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่มีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ
รายที่อาการรุนแรงมาก ต้องรับไว้รักษาในโรงพยาบาล และให้
การรักษาดังนี
ให้ออกซิเจนที่มีความชื้นสูง และจัดให้อยู่ในที่อากาศเย็น
ดูแลอย่างใกล้ชิด
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาขับเสมหะ ยาขยายหลอดลม ยาลดไข้
ให้ยาเพื่อช่วยให้เด็กพักในรายที่กระสับกระส่าย กระวน กระวายมาก เช่น chloral hydrate
ให้ยาปฏิชีวนะในรายที่ติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ
ให้ adrenaline ทาง nebulizer และ steroid เช่น
dexamethasone
ถ้าอาการรุนแรงมักใส่ท่อทางเดินหายใจ
Pneumonia โรคปอดบวม
โรคที่เกิดจากการอักเสบของเนื้อปอด
terminal และ respiratory
bronchiole กับ alveoli
พบในเด็กบ่อยกว่าผู้ใหญ่
พบได้ประมาณร้อยละ 8-10 ของผู้ป่วยที่มี
การติดเชื้อเฉียบพลันของระบบหายใจ
นับเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่ง
โรคติดเชื้อในเด็กอายุตํ่า
กว่า 5 ปี
อาการและอาการแสดง
ได้แก่
ไข้
ไอ
อัตราการหายใจเร็วกว่าปกต
อายุ < 2 เดือน อัตราการหายใจตั้งแต่ 60 ครั้งต่อนาทีขึ้นไป
อายุ 2 เดือน - 12 เดือน อัตราการหายใจตั้งแต่ 50 ครั้งต่อนาทีขึ้นไป
อายุ 1-5 ปี อัตราการหายใจตั้งแต่ 40 ครัั้งต่อนาทีขึ้นไป
มีอาการหายใจลําบาก
chest wall retraction, flaring ala nasi
ขณะหายใจเข้า
ถ้าเป็นมากอาจเห็นมีริมฝี ปากเขียว
ฟังเสียงปอดมักจะได้ยินเสียง fine หรือ medium crepitation
อาจได้ยินเสียง
sonorous rhonchi ร่วมด้วย
อาจได้ยินเสียง bronchial breath sound ในกรณีที่
เนื้อปอดมีพยาธิสภาพแบบ consolidation
ท้องอืด
เนื่องจากมีอาการอักเสบของเนื้อปอด
บริเวณส่วนล่างที่ติดกับกระบังลม
ในเด็กเล็กอาจแสดงอาการอื่นที่ไม่จําเพาะ
เป็นอาการของการติดเชื้อในกระแสโลหิต
ดูดนมน้อยลง ซึม
หรือหยุดหายใจเป็นพักๆ
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือดขาว ควรทําทุกราย
Hemoculture ควรทําเฉพาะในรายที่สงสัยเกิดจากเชื้อแบคทีเรีย หรือ รายที่มีไข้สูง
Pleural fluid gram stain และ culture กรณีที่มี pleural effusion ควรเจาะดูลักษณะของ effusion ย้อมและส่งเพาะเชื้อ จะช่วยในการหาเชื้อที่เป็นสาเหตุได้
Cold agglutinin และ mycoplasma titer ทําในรายที่สงสัยสาเหตุจากเชื้อ mycoplasma
ภาพรังสีทรวงอก ช่วยยืนยันการวินิจฉัยโรคปอดบวม
ในผู้ป่วยที่ประวัติและการตรวจร่างกายไม่ชัดเจน
เช่น
ภาพรังสีที่เป็ นลักษณะ parahilar peribronchial (interstitial)infiltration ช่วยสนับสนุนสาเหตุจากเชื ้อไวรัส ลักษณะ lobar consolidation ในเด็กโตทําให้นึกถึงเชื้อ S. pneumoniae
พบ pneumatocele มักคิดถึงเชื้อ S. aureus ถ้ามี pleural effusion ทํา
ให้นึกถึงเชื้อ S. aureus, S. pneumoniae, H. influenzae, Mycoplasma เป็นต้น
การย้อม sputum หรือ nasopharyngeal aspiration
การตรวจหา antigen ของไวรัส จาก nasopharyngeal aspirate
Tuberculin test ในรายที่สงสัยเป็นวัณโรคปอด
การเพาะเชื้อแบคทีเรียจาก nasopharyngeal aspiration ไม่ช่วยในการวินิจฉัย เพราะพบ colonization ของเชื้อแบคทีเรียได้ในเด็กปกติ
การซักประวัติ ตรวจร่างกาย
การดแลรักษา
การรักษาจําเพาะ (specific treatment)
ในรายที่เป็นปอดบวมจากเชื้อไวรัส ไม่มียารักษาที่จําเพาะ การให้supportive care
ในกรณีที่สงสัยว่ามีสาเหตุจากเชื้อแบคทีเรียหรือเชื้ออื่น ๆ และยังไม่สามารถแยกเชื้อได้ชัดเจน พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะ
การรักษาทั่วไป (general supportive care)
ให้สารน้ำให้เพียงพอ แนะนําให้ผู้ป่ วยดื่มน้ำมาก ๆ ในรายที่หอบมาก ท้องอืด กินอาหารไม่ได้ พิจารณาให้สารน้ำทางหลอดเลือดดํา
ให้ออกซิเจน พิจารณาให้ในรายที่มีอาการเขียว หายใจเร็ว
ให้ยาขยายหลอดลมในรายที่ได้ยินเสียง wheeze หรือ rhonch
พิจารณาให้ยาขับเสมหะหรือยาละลายเสมหะ ในกรณีที่ให้สารน้ำเต็มที่แล้วแต่เสมหะยังเหนียวอยู่
ทํากายภาพบําบัดทรวงอก (chest physical therapy)
การรักษาอื่น ๆ ตามอาการ ได้แก่ ยาลดไข้
ในผู้ป่ วยที่มีภาวะการหายใจล้มเหลวหรือหยุดหายใจพิจารณาใส่ท่อหลอดลมคอและเครื่องช่วยหายใจ
ปัญหาการพยาบาล
ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจน
ผู้ป่วยมีภาวะเสี่ยงต่อระบบหายใจล้มเหลว
3 ติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
ประวัติการเจ็บป่วย
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
มีโรคประจำตัว
Laryngomalacia
อาการสำคัญ คือ
หอบเหนื่อย 2 ชั่วโมงก่อนมารพ.
ประวัติการเจ็บป่วยในปัจจุบัน คือ
3 วันก่อนมา ไอ ดัง เสียงแหบ ก้อง
นาน ๆ ครั้ง จะไอ ไม่เขียว
อากาศเย็นไอเพิ่มขึ้น วันละ 3-5 ครั้ง
ถ้า
คือ
เกิดจาก
คล้าย
โดย
คือ
ส่งผลให้
ซึ่ง
คือ
ทำให้
โดย
ซึ่ง
หรือ
ได้แก่
คือ
โดย
คือ
คือ
เกิด
มี
ซึ่ง
คือ
ซึ่ง
หรือ
เช่น
โดย
คือ
โดย
ของ
คือ
ได้แก่
ดังนี้
ได้แก่
คือ
คือ
คือ
ถ้า
มี
ดังนี้
คือ
ดังนี้
คือ
คือ
คือ
คือ
โดย
ประกอบด้วย
ซึ่ง
เพื่อ
ดังนี้
คือ
โดย
คือ
ดังนี้
เพื่อ
โดย
ดังนี้
คือ
ดังนี้
คือ
โดย
คือ
เพื่อ
ดังนี้